รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน : 2400-1124

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
0.00
95
95 / 100
3
0.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (กาญจนสิงห์หาสน์ ฯ) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 7 – 24 ธันวาคม 2565 1.1 สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 จำนวน 7 คน 2. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (คลองเตย) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 30 – 31 มกราคม 2566 2.1 สาขาช่างแต่งผมสตรี ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 36 คน 2.2 สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 8 คน 3. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บางรัก) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 15 – 16 มีนาคม 2566 3.1 สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 30 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (กาญจนสิงห์หาสน์ ฯ) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 7 – 24 ธันวาคม 2565 1.1 สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 จำนวน 7 คน 2. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (คลองเตย) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 30 – 31 มกราคม 2566 2.1 สาขาช่างแต่งผมสตรี ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 36 คน 2.2 สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 8 คน 3. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บางรัก) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 15 – 16 มีนาคม 2566 3.1 สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 30 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (กาญจนสิงห์หาสน์ ฯ) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ - วันที่ 7 – 24 ธันวาคม 2565 สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 จำนวน 7 คน - วันที่ 3 เมษายน 2565 สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 จำนวน 16 คน 2. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (คลองเตย) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 30 – 31 มกราคม 2566 ดังนี้ 2.1 สาขาช่างแต่งผมสตรี ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 36 คน 2.2 สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 8 คน 3. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บางรัก) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 15 – 16 มีนาคม 2566 ดังนี้ 3.1 สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 30 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (คลองเตย) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 30 – 31 มกราคม 2566 1.1 สาขาช่างแต่งผมสตรี ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 36 คน 1.2 สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 8 คน 2. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (กาญจนสิงห์หาสน์ ฯ) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 7 – 24 ธันวาคม 2565 และ วันที่ 3 เมษายน 2566 2.1 สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 ผ่านการทดสอบจำนวน 23 คน 3. ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บางรัก) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 15 – 16 มีนาคม 2566 ดังนี้ 3.1 สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 ผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 30 คน สรุป ร้อยละของผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานคิดเป็นร้อยละ 100 - ผู้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฝีมือแรงงานภาคปฏิบัติ จำนวน 97 คน - ผู้สมัครสอบที่ผ่านการทดสอบภาคทฤษฎี เพื่อเข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในภาคปฏิบัติทั้งหมด 97 คน ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฝีมือแรงงาน หมายถึง ผู้ผ่านการทดสอบข้อกำหนดทางวิชาการที่ใช้เป็นเกณฑ์วัดระดับความรู้ ทักษะ และ เจตคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพในสาขาต่าง ๆ ตามมาตรฐานของกระทรวงแรงงาน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฝีมือแรงงานภาคปฏิบัติ X 100 หาร จำนวนผู้สมัครสอบที่ผ่านการทดสอบภาคทฤษฎี เพื่อเข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในภาคปฏิบัติทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๓ –การลดความเหลื่อมล้ำด้วยการบริหารเมืองรูปแบบอารยะสำหรับทุกคน
:๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางสังคม
:๓.๒.๒ ระบบการพัฒนาอาชีพและสวัสดิการ%
:๓.๒.๒.๒ มีการสนับสนุนให้แรงงานนอกระบบมีอาชีพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง