ค่าเป้าหมาย ครั้ง : 10
ผลงานที่ทำได้ ครั้ง : 3668
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1.สำนักงานเขตได้เริ่มดำเนินการเปิดเวทีครั้งที่ 1 ไปแล้วในบางส่วน 2.ได้รับความเป็นชอบแนวทางและหลักเกณฑ์ฯ เมื่อวันที่ 3 ก.พ.66 และสำนักพัฒนาสังคมได้ประชุมชี้แจงแนวทางหลักเกณฑ์ฯ เมื่อวันที่ 27 ก.พ.66 เพื่อชี้แจงขั้นตอนการทำโครงการชุมชนเข้มแข็งพัฒนาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.สำนักงานเขตได้เริ่มดำเนินการเปิดเวทีครั้งที่ 1 ไปแล้วในบางส่วน 2.ได้รับความเป็นชอบแนวทางและหลักเกณฑ์ฯ เมื่อวันที่ 3 ก.พ.66 และสำนักพัฒนาสังคมได้ประชุมชี้แจงแนวทางหลักเกณฑ์ฯ เมื่อวันที่ 27 ก.พ.66 เพื่อชี้แจงขั้นตอนการทำโครงการชุมชนเข้มแข็งพัฒนาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ดำเนินการจัดตั้งคณะทำงานพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัย ระดับเขต ครบทั้ง 50 สำนักงานเขตแล้ว คิดเป็นร้อยละ 100
1. ชุมชนที่จัดทำโครงการชุมชนเข้มแข็งพัฒนาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปิดเวทีเพื่อจัดทำแผนพัฒนาชุมชน สร้างความเข้าใจ แก่ประชาชนในชุมชน ประชุมชี้แจง คัดเลือกคณะทำงานจัดทำแผนพัฒนาชุมชนระดับชุมชน ทำความเข้าใจ และรับทราบแนวทางการดำเนินงาน ในเรื่องการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนตามโครงการฯ สำรวจข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำเสนอปัญหาในเวทีชาวบ้าน จัดลำดับความสำคัญ เพื่อเตรียมยกร่างแผนพัฒนาชุมชน จัดทำเวทีประชาพิจารณ์ เพื่อชี้แจง นำเสนอแผนพัฒนาชุมชนที่จัดทำขึ้น ตรวจสอบ เพิ่มเติม ทบทวนปรับปรุงและ ให้ข้อเสนอแนะในแผนพัฒนาชุมชนและ ลงมติให้ความเห็นชอบในแผนพัฒนาชุมชนฉบับร่างดังกล่าวเพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนระดับเขต 2. สำนักงานเขตได้เริ่มดำเนินการเปิดเวทีครั้งที่ 1 จำนวน 1,886 ชุมชน คิดเป็น 1,886 ครั้ง และเปิดเวทีครั้งที่ 2 จำนวน 1,782 ชุมชน คิดเป็น 1,782 ครั้ง รวมจัดกิจกรรมทั้งหมด 3668 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล ณ วันที่ 18 ก.ย. 66)
สร้างเวที คือ การเปิดเวทีประชาคมในชุมชนเพื่อรับฟังความคิดเห็นและเสนอความคิดร่วมกัน กลไก/เครือข่ายประชาคม คือ ประชาชน องค์กร ภาคีในชุมชน ระยะเวลาดำเนินการ คือ นับระยะเวลาการเปิดเวทีประชาคมเพื่อรับฟังความคิดเห็นและเสนอความคิดร่วมกัน หลังจากได้รับการอนุมัติแนวทางและหลักเกณฑ์ การจัดทำแผนฯ
เครือข่ายประชาคมมีการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นและเสนอความคิดร่วมกัน อย่างน้อยปีละ 10 ครั้ง