รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ : 5001-787

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
70.00

0 / 0
4
100.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

แต่งตั้งคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลของสำนักงานเขตพระนครและแต่งตั้งคณะทำงานบริกรข้อมูลของสำนักงานเขตพระนคร (ทีมบริกรข้อมูล)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. สำรวจข้อมูลและจัดทำรายละเอียดของข้อมูลที่จะดำเนินการจัดเก็บในชุดข้อมูลให้ครบถ้วนตามโครงสร้างของข้อมูลที่กำหนด 2. จัดทำเอกสารชุดข้อมูลสำคัญของสำนักงานเขตพระนคร และ เสนอชุดข้อมูลที่จะดำเนินการ จำนวน 18 ชุดข้อมูล 3. นำเสนอเอกสารชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงานต่อคณะกรรมการธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร 4. จัดทำคำอธิบายข้อมูลและพจนานุกรมข้อมูล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. นำเข้าข้อมูลในระบบภายในเดือน เมษายน 2565 และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน 2. ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน 2. จัดทำนวัตกรรม โดยใช้โปรแกรม Power BI “ข้อมูลการฝึกอบรม” และ “ข้อมูลชุมชนในเขตพระนคร” และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน 3. ปรับปรุงข้อมูลในระบบให้เป็นปัจจุบัน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การพัฒนาและการจัดการฐานข้อมูล โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผน การพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยสอดคล้องกับมาตรฐานและกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

คะแนนที่จะได้รับ = (น้ำหนักคะแนน หาร 100) X ร้อยละของคะแนนที่ได้รับ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลใช้ข้อมูลผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดจากระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA Digital Plans) และ BMA Monitor Application ในการประกอบการพิจารณาการประเมินผล โดยหน่วยงานผู้รับการประเมินต้องรายงานข้อมูลอย่างชัดเจน พร้อมทั้งตรวจเอกสารและหลักฐานที่ใช้ประกอบของโครงการ/กิจกรรม และตัวชี้วัดในการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานปลายปีงบประมาณ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์%
:๗.๕.๑.๒ มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง