ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 20
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
จัดเก็บขยะอันตรายในพื้นที่เขตพระนคร -เดือนตุลาคม 2565 ได้ปริมาณ 0.75 ตัน -เดือนพฤศจิกายน 2565 ได้ปริมาณ 1.53 ตัน -เดือนธันวาคม 2565 ไม่มีการจัดเก็บขยะอันตราย รวมไตรมาส 1 ได้ปริมาณ 2.28 ตัน
จัดเก็บขยะอันตรายในพื้นที่เขตพระนคร ประจำเดือนตุลาคม 2565 -เดือนมกราคม 2566 ไม่มีการจัดเก็บขยะอันตราย -เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ได้ปริมาณ 1.34 ตัน รวมไตรมาส 2 ได้ปริมาณ 1.34 ตัน
จัดเก็บขยะอันตรายในพื้นที่เขตพระนคร ประจำเดือนมิถุนายน 2566 ได้ปริมาณ 9.39 ตัน
จัดเก็บขยะอันตรายในพื้นที่เขตพระนคร ประจำเดือนกรกฎาคม 2566 ได้ปริมาณ 0.91 ตัน และเดือนสิงหาคม 2566 ได้ปริมาณ 1.73 ตัน
มูลฝอยอันตราย (Hazardous Wastes) หมายถึง มูลฝอยที่เป็นพิษ หรืออันตรายที่เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชน ได้แก่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่ ภาชนะ บรรจุสารเคมี ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอื่น ๆ เช่น ยาเม็ดหมดอายุ ผงคาร์บอน เป็นต้น โดยไม่รวมของเสียอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานมูลฝอยทั่วไป มูลฝอยติดเชื้อ และกากกัมมันตรังสี
ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เท่ากับ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2566 ลบ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 หาร ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 คูณ 100 (ปริมาณมูลฝอยตั้งแต่เดือนต.ค. 65 - ก.ย. 66)
:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
:๒.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยตั้ง% |
:๒.๑.๓.๑ การจัดการมูลฝอยต้นทางอย่างมีประสิทธิภาพ |