รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม : 5003-897

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 71

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
12.33
100
100 / 100
2
32.32
0
0 / 0
3
51.83
0
0 / 0
4
71.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2563 - 29 ธ.ค. 2563 เบิกจ่ายได้ร้อยละ 12.33

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2563 - 29 มี.ค. 2564 เบิกจ่ายได้ร้อยละ 32.32

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2563 - 29 มิ.ย. 2564 เบิกจ่ายได้ร้อยละ 51.83

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2563 - 30 ก.ย. 2564 เบิกจ่ายได้ร้อยละ 71

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. ความส้าเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม หมายถึง หน่วยงานสามารถดาเนินการ เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และ หมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจาปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจา หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงิน ช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบาเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุน จากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 2. จ้านวนเงินงบประจ้าปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง ผลรวม ของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจาปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจา หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบาเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 3. งบประจ้าปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภท ที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจาปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจา หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการเงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้าง งบกลาง รายการเงินบาเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 4. โครงการขนาดใหญ่ หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาดาเนินการมากกว่า 1 ปี และมีวงเงิน โครงการ 200 ล้านบาทขึ้นไป

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

(จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 หาร งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564) คูณ 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. ข้อมูลจากตัวชี้วัดความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม ในกรอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร มิติที่ 2 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 2. จาแนกกลุ่มข้อมูลของหน่วยงานผู้รับการประเมินและกาหนดค่าเป้าหมายของแต่ละกลุ่ม โดยพิจารณาจากภารกิจของหน่วยงาน และผลการดาเนินงานของตัวชี้วัดความสาเร็จของการเบิกจ่าย งบประมาณในภาพรวมของแต่ละกลุ่มหน่วยงาน 2.1 กลุ่มหน่วยงาน A สานักที่มีภารกิจงานอานวยการ มีค่าเฉลี่ยผลการดาเนินงานของตัวชี้วัด ความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 94.85 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 90 2.2 กลุ่มหน่วยงาน B สานักที่มีภารกิจงานเชิงยุทธศาสตร์ แต่ไม่มีโครงการขนาดใหญ่ มีค่าเฉลี่ยผลการดาเนินงานของตัวชี้วัดความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของ หน่วยงาน ในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 79.73 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับร้อยละ 75 2.3 กลุ่มหน่วยงาน C สานักที่มีภารกิจงานเชิงยุทธศาสตร์ และมีโครงการขนาดใหญ่มีค่าเฉลี่ย ผลการดาเนินงานของตัวชี้วัดความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของ หน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 66.77 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 65 2.4 กลุ่มหน่วยงาน D สานักงานเขต มีค่าเฉลี่ยผลการดาเนินงานของตัวชี้วัดความสาเร็จของ การเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานในกลุ่ม 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง เท่ากับ ร้อยละ 91.36 ดังนั้น ค่าเป้าหมายกลาง (ระดับ 3) จะเท่ากับ ร้อยละ 90

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ%
:๗.๔.๑.๓ กรุงเทพมหานครสามารถรักษาวินัยทางการเงินการคลังทั้งในระยะสั้นและ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง