รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสาเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสาคัญ ต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ : 5003-908

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
40.00
0
0 / 0
3
60.00
0
0 / 0
4
100.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างพิจารณาข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ กำหนดผู้มีส่วนได้เสีย และผู้ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลของหน่วยงาน รวมทั้งเสนอการพัฒนาฐานข้อมูลใหม่ของหน่วยงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการตามขั้นตอนที่ 2 เรียบร้อยแล้ว ดังนี้ 1. คำอธิบายชุดข้อมูลดิจิทัล (Metadata) 2. พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการนำเข้าข้อมูลและปรับปรุงข้อมูลให้มีคุณภาพเป็นปัจจุบันอย่างสม่าเสมอ ตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ(การประเมินผลคุณภาพข้อมูล)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. แต่งตั้งคณะทำงานกำกับดูแลข้อมูลระดับหน่วยงาน และจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน 2. จัดทำบัญชีรายการข้อมูล (data catalog) 3. กำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูลของหน่วยงาน 4. พัฒนาฐานข้อมูลโดยเลือกข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว เพื่อนำไปใช้ในการสร้างเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของเขตสัมพันธวงศ์ 5. จัดทำพจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) และอธิบายข้อมูล (metadata) 6. นำเข้าข้อมูลและปรับปรุงข้อมูลให้มีคุณภาพเป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ ตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ 7. นำข้อมูลการท่องเที่ยวไปใช้ประโยชน์ในการสร้างเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการท่องเที่ยวในเขตสัมพันธวงศ์ 8. เผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านระบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ http://data.bangkok.go.th/

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การพัฒนาและการจัดการฐานข้อมูล โดยการนาเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผน การพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก ของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยสอดคล้องกับมาตรฐานและกรอบธรรมาภิบาลข้อมูล ภาครัฐ (ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ)แบ่งเป็น 2 ส่วน (ร้อยละ 100) ส่วนที่ 1 รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ส่วนที่ 2 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสาคัญต่อการปฏิบัติงานหรือ การให้บริการ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ส่วนที่ 1 รักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ด้าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยหน่วยงานด้าเนินการ ดังนี้ 1.1 สานัก สานักงาน และส่วนราชการในสังกัดสานักปลัดกรุงเทพมหานคร ดาเนินการจัดเก็บ ข้อมูลและนาเข้าชุดข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองทุกรายการ ในระบบบันทึกข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 4.1 หรือ ในอนาคตอาจเรียกชื่ออื่น 1.2 สานักงานเขต ดาเนินการจัดเก็บข้อมูลและนาเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่ของเขตทุกรายการ ในระบบบันทึกข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 4.1 หรือในอนาคตอาจเรียกชื่ออื่น และระบบบริหารจัดการพื้นที่เขต ในกรุงเทพมหานคร (District Catalog) ทั้งนี้ การบันทึกข้อมูลในระบบฯ ดังกล่าวให้ดาเนินการตามลักษณะของข้อมูลตามที่หน่วยงาน และสานักยุทธศาสตร์และประเมินผลกาหนดไว้ ร่วมกันเพื่อรักษาสถานะภาพฐานข้อมูลของหน่วยงาน ที่ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้เป็นปัจจุบัน รวมทั้งต้องด้าเนินการตามกรอบธรรมาภิบาล ข้อมูลภาครัฐ (Data Governance Framework) ด้วย ส่วนที่ 2 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความส้าคัญต่อการปฏิบัติงานหรือ การให้บริการ โดยหน่วยงานด้าเนินการ ดังนี้ 2.1 หน่วยงานดาเนินการพัฒนาฐานข้อมูลใหม่เป็นการปรับปรุงฐานข้อมูลที่มีอยู่เดิม ให้มีขอบเขตการใช้ประโยชน์ได้กว้างขวางขึ้นจานวน 1 เรื่องหรือพิจารณาจากภารกิจที่หน่วยงานเสนอไว้ใน แผนพัฒนาฐานข้อมูลปี 2563 แต่ยังไม่ได้ดาเนินการมาพัฒนา หรือพัฒนาฐานข้อมูลใหม่ที่ยังไม่มี การดาเนินการมาก่อน ซึ่งการพัฒนาหรือปรับปรุงฐานข้อมูลดังกล่าวต้องเป็นฐานข้อมูลที่มีความสา คัญต่อ การปฏิบัติงานหรือการให้บริการ และต้องเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศที่สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล กาหนด ทั้งนี้ ต้องไม่ซ้ากับชุดข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองที่ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ข้อ1) การจัดทาแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานส่งให้สานักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเวลาที่กาหนด 2.2 การพัฒนาชั้นข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูล ต้องมีการแจกแจงประเภทชนิดข้อมูล ด้วยการจัดทาพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) และจัดให้อยู่ในรูปแบบของฐานข้อมูล (Database) และ พัฒนาให้อยู่ในรูปแบบระบบสารสนเทศที่สามารถนาเข้า สืบค้น และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ได้ผ่านระบบคอมพิวเตอร์การนาเข้าข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วนทันสมัย ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของ หน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของ กรุงเทพมหานครและต้องเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศกลางตามที่สานักยุทธศาสตร์และประเมินผลกาหนด 2.3 การนาฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ (1) ภายในหน่วยงาน (2) ระหว่าง หน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร หรือหน่วยงานภายนอกสังกัดกรุงเทพมหานครหรือประชาชน ซึ่งหน่วยงาน ต้องมีการแสดงหลักฐานอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ การด้าเนินงานหน่วยงานต้องด้าเนินการตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance Framework) รวมถึงแนวทางและปฏิทินที่ส้านักยุทธศาสตร์และประเมินผลก้าหนด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง