รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จของการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ : 5005-2097

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
10.00

0 / 0
3
58.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการประชุมซักซ้อมการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง จัดทำโครงการบูรณาการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุในพื้นที่เขตปทุมวัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. เข้าร่วมประชุมกับหน่วยงานหลัก (สำนักการจราจรและขนส่ง) เพื่อกับกำหนดภารกิจ มอบหมายจุดเสี่ยงที่หน่วยงานรับผิดชอบ และตกลงค่าเป้าหมาย คิดเป็น 10 เปอร์เซ็นต์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

2. ดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยง จำนวน 1 จุด 2.1 จุดที่ 1แยกปทุมวัน (ถนนพระรามที่1 ตัดถนนพญาไท) 2.1.1. ฝ่ายเทศกิจ จัดกิจกรรมการกวดขันวินัยจราจร และ/หรืออำนวยความสะดวกด้านการจราจรและผู้สัญจร คิดเป็น 16 เปอร์เซ็นต์ 2.1.2 ฝ่ายโยธา แก้ไขปรับปรุงในบริเวณจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ หรือพื้นที่ใกล้เคียง เช่น ปรับปรุงซ่อมแซมทางเท้า ผิวจราจร ท่อระบายน้ำ ไฟฟ้าส่องสว่าง ดูแลรักษาความสะอาดป้ายจราจร หรืออื่นๆ คิดเป็น 16 เปอร์เซ็นต์ 2.1.3. ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ ปรับปรุง ทัศนวิสัยการขับขี่ยานพาหนะ โดย ตัดแต่งกิ่งไม้ที่บดบัง ดูแลรักษาความสะอาดในบริเวณจุดเสี่ยงอุบัติเหตุและพื้นที่ใกล้เคียง คิดเป็น 16 เปอร์เซ็นต์ รวมผลดำเนินการ 48 เปอร์เซ็นต์ (ผลดำเนินการทั้งสิ้น ไตรมาสที่ 1 + ไตรมาสที่ 2 = 58 เปอร์เซ็นต์)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

3.รายงานผลการดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ คิดเป็น 32 เปอร์เซ็นต์ 4. สรุปผลการดำเนินการตามแผน/โครงการ คิดเป็น 10 เปอร์เซ็นต์ รวมผลดำเนินการ 42 เปอร์เซ็นต์ (ผลดำเนินการทั้งสิ้น ไตรมาสที่ 1 + ไตรมาสที่ 2 + ไตรมาสที่ 3 + ไตรมาสที่ 4 = 100 เปอร์เซ็นต์)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

- ผู้เสียชีวิต หมายถึง ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ทั้งการเสียชีวิตที่จุดเกิดเหตุ ระหว่างนำส่งจนถึงโรงพยาบาล และที่โรงพยาบาล - อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อประชากรแสนคน หมายถึง จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนหารด้วยจำนวนประชากรกลางปีตามทะเบียนราษฎร์กรุงเทพมหานครรายปีปัจจุบัน+ด้วยประชากรแฝง และคูณด้วย 100,000 คน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

- วัดผลจากร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการตามภารกิจตามที่หน่วยงานหลัก/หน่วยงานรองระดับสำนักมอบหมาย โดยคำนวณจาก จำนวนกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานหลักฯและรอง ดำเนินการสำเร็จหารด้วยจำนวนกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงาน ทั้งหมดคูณด้วย 100 จากนั้นนำไปเทียบกับเกณฑ์วัดผลความสำเร็จ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1) รายงานการประชุม ศปถ.เขต 2) เอกสารที่แสดงถึงภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานระดับสำนัก 3) หลักฐานที่แสดงถึงการปฏิบัติตามการมอบหมายจากหน่วยงานระดับสำนัก เช่น เอกสาร ภาพถ่าย เป็นต้น 4) หลักฐานการประสานงานกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 5) รายงานผลการดำเนินงานตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานระดับสำนัก

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
:๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ
:๑.๒.๒ ลดอุบัติเหตุทางถนน%
:๑.๒.๒.๒ การตรวจสอบสภาพถนนและปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย (Black Spot)

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง