รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

(2 )ร้อยละของจุดเสี่ยงภัยได้รับการแก้ไข เฝ้าระวัง และตรวจตรา : 5007-0721

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
70.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ตรวจสอบพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม ในพื้นที่เขตดุสิต จำนวน 12 จุด ดังนี้ สะพานลอยคนข้าม ได้แก่ 1.หน้า ร.ร.ราชวินิตมัธยม 2. หน้าบ้านพิษณุโลก 3.สี่แยกเกียกกาย 4.สี่แยกบางกระบือ ป้ายรถเโดยสารประจำทาง ได้แก่ 5.หน้าห้องไฮมอลล์ สถานที่อื่น ๆ ได้แก่ 6.ท่าเรือพายัพ 7.ท่าเรือเขียวไข่กา 8.ท่าเรือเกียกกาย 9.หน้าวัดเบญจมบพิตร 10.สถานีรถไฟสามเสน 11.หน้าตลาดเทวราชกุญชร 12.ซฮยวัดประชาระบือธรรม มีการตรวจตราจุดเสี่ยง อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด และมีการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV จำนวน 1 ครั้ง/วัน/จุด มีการดำนวยความสะดวกด้านการจราจรตามโครงการอาสาพาน้องข้ามถนน จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ ไม่มีคดีทางอุบัติเหตุบนทางเท้า

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ตรวจสอบพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม ในพื้นที่เขตดุสิต จำนวน 12 จุด ดังนี้ -สะพานลอยคนข้าม ได้แก่ 1.หน้า ร.ร.ราชวินิตมัธยม 2. หน้าบ้านพิษณุโลก 3.สี่แยกเกียกกาย 4.สี่แยกบางกระบือ -ป้ายรถเโดยสารประจำทาง ได้แก่ 5.หน้าห้องไฮมอลล์ -สถานที่อื่น ๆ ได้แก่ 6.ท่าเรือพายัพ 7.ท่าเรือเขียวไข่กา 8.ท่าเรือเกียกกาย 9.หน้าวัดเบญจมบพิตร 10.สถานีรถไฟสามเสน 11.หน้าตลาดเทวราชกุญชร 12.ซฮยวัดประชาระบือธรรม มีการตรวจตราจุดเสี่ยง อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด และมีการตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV จำนวน 1 ครั้ง/วัน/จุด มีการดำนวยความสะดวกด้านการจราจรตามโครงการอาสาพาน้องข้ามถนน จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ ไม่มีคดีทางอุบัติเหตุบนทางเท้า

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ข้อ1) ตรวจสอบพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม ในพื้นที่เขตดุสิต จำนวน 12 จุด ดังนี้ -สะพานลอยคนข้าม ได้แก่ 1.หน้า ร.ร.ราชวินิตมัธยม 2. หน้าบ้านพิษณุโลก 3.สี่แยกเกียกกาย 4.สี่แยกบางกระบือ -ป้ายรถเโดยสารประจำทาง ได้แก่ 5.หน้าห้องไฮมอลล์ -สถานที่อื่น ๆ ได้แก่ 6.ท่าเรือพายัพ 7.ท่าเรือเขียวไข่กา 8.ท่าเรือเกียกกาย 9.หน้าวัดเบญจมบพิตร 10.สถานีรถไฟสามเสน 11.หน้าตลาดเทวราชกุญชร 12.ซฮยวัดประชาระบือธรรม มีการตรวจตราจุดเสี่ยง อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด (รวม 6,192 ครั้ง) คิดเป็นร้อยละ 73.75 ข้อ 2) การตรวจสอบกล้องวงจรปิด CCTV จำนวน 1 ครั้ง/วัน/จุด มีการดำนวยความสะดวกด้านการจราจรตามโครงการอาสาพาน้องข้ามถนน ไม่มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์บนทางเท้า จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด (รวม 258 ครั้ง)คิดเป็นร้อยละ 70.68 ไม่มีคดีทางอุบัติเหตุบนทางเท้า

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดทำโครงการ/แผนงานเสนอผู้บังคับบัญชาอนุมัติ ดังนี้ 1.1 โครงการตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) 2 ครั้ง/วัน/จุดรวม 7,916 ครั้ง และกล้องวงจรปิด 1ครั้ง/วัน/จุด รวม 345 ครั้ง 1.2 โครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ จำนวน1 ครั้ง/วัน/จุด รวม 690 ครั้ง 1.3 โครงการเทศกิจอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร 2 ครั้ง/วัน/จุด รวม 4,180 ครั้ง 1.4 โครงการกวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า 2 ครั้ง/วัน/จุด รวม 690 ครั้ง และพื้นที่เขตดุสิตไม่มีคดีอุบัติเหตุบนทางเท้า ร้อยละ 100 2. จัดทำคำสั่งมอบหมายหน้าที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจปฏิบัติหน้าที่ตามโครงการ 3. จัดเจ้าหน้าที่ชุดสายตรวจปฏิบัติงานตามที่โครงการกำหนด 4. ประสานฝ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อรวบรวมผลการดำเนินงานตามโครงการ 5. หัวหน้าฝ่ายเทศกิจ หรือหัวหน้างานหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน 6. มีการสรุปรายงานผลการปฏิบัติงานเสนอผู้บังคับบัญชาทราบทุกเดือน 2 ครั้ง/วัน/จุด (รวม 8,760 ครั้ง)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัย ทางถนน และบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจร พาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการ จอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด 1. สำนักเทศกิจ 1.1 ข้อมูลจุดเสี่ยงภัยของสำนักงานเขต จำนวน 1 ชุด 1.2 ออกแบบรายงานผลการดำเนินงาน 1.3 ให้คะแนนผลการดำเนินงานของสำนักงานเขต ตามข้อ 2 และข้อ 3 2. การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 40) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) ประสานฝ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังนี้ 2.1 การดูแลตัดต้นไม้ โดย ฝ่ายรักษาความสะอาด (7 คะแนน) 2.2 การติดตั้งไฟฟ้า โดย ฝ่ายโยธา (7 คะแนน) 2.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม โดย ฝ่ายเทศกิจ (7 คะแนน) 2.4 ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง โดย ฝ่ายรักษาความสะอาด (7 คะแนน) 2.5 รวบรวมผลการดำเนินงานแก้ไขจุดเสี่ยงภัย ตามข้อ 2.1 – 2.4 รายงาน ให้ผู้บริหารและสำนักเทศกิจทราบ (12 คะแนน) 3. การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 60) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) มีการจัดทำแผนเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย ดังนี้ 3.1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด (15 คะแนน) 3.2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 1 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข (15 คะแนน) 3.3 ปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกด้านการจราจรตามโครงการอาสา พาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด (15 คะแนน) 3.4 ปฏิบัติหน้าที่กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์หรือล้อเลื่อนบนทางเท้าไม่มีคดีอุบัติเหตุบนทางเท้า ร้อยละ 100 (15 คะแนน)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ความสำเร็จของการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยร่วมกับการเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย x 100 หาร ความสำเร็จของการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยร่วมกับการเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยตามแผน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ สำนักงานเขตดุสิต

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง