ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1. กวดขันรถจอดวิ่งบนทางเท้า วันละ 3 ครั้ง 2. เทศกิจอำนวยการจราจร 5 แห่ง วันละ 2 ครั้ง 3. ตรวจจุดเสี่ยง 16 จุด วันละ 3 ครั้ง และแจ้งฝ่ายโยธา ฝ่ายรักษาฯ ปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย 4.ตรวจสอบกล้อง CCTV 57 จุด วันละ 1 ครั้ง
1. กวดขันรถจอดวิ่งบนทางเท้า วันละ 3 ครั้ง ผลการดำเนินคดีเปรียบเทียบปรับเดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนมีนาคม 2562 จำนวน 136 ราย เป็นเงิน 108,400 บาท แจ้งผ่านแอพพลิเคชั่นเดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนมีนาคม 2562 จำนวน 184 ราย ผู้ฝ่าฝืนจ่ายค่าปรับ 21 ราย จ่ายเงินรางวัล 8,100 บาท 2. เทศกิจอำนวยการจราจร 5 แห่ง วันละ 2 ครั้ง 3. ตรวจจุดเสี่ยง 16 จุด วันละ 3 ครั้ง และแจ้งฝ่ายโยธา ฝ่ายรักษาฯ ปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย 4.ตรวจสอบกล้อง CCTV 57 จุด วันละ 1 ครั้ง
ดำเนินการตามเป้าหมาย ดังนี้ 1.กวดขันรถจอดวิ่งบนทางเท้า วันละ 3 ครั้ง 2. เทศกิจอำนวยการจราจร 5 แห่ง วันละ 2 ครั้ง 3. ตรวจจุดเสี่ยง 16 จุด วันละ 3 ครั้ง และแจ้งฝ่ายโยธา ฝ่ายรักษาฯ ปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย 4.ตรวจสอบกล้อง CCTV 57 จุด วันละ 1 ครั้ง
ดำเนินการตามเป้าหมาย ดังนี้ 1.กวดขันรถจอดวิ่งบนทางเท้า วันละ 3 ครั้ง 2. เทศกิจอำนวยการจราจร 5 แห่ง วันละ 2 ครั้ง 3. ตรวจจุดเสี่ยง 16 จุด วันละ 3 ครั้ง และแจ้งฝ่ายโยธา ฝ่ายรักษาฯ ปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย 4.ตรวจสอบกล้อง CCTV 57 จุด วันละ 1 ครั้ง
จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนน และบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจร พาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด 1. สำนักเทศกิจ 1.1 ข้อมูลจุดเสี่ยงภัยของสำนักงานเขต จำนวน 1 ชุด 1.2 ออกแบบรายงานผลการดำเนินงาน 1.3 ให้คะแนนผลการดำเนินงานของสำนักงานเขต ตามข้อ 2 และข้อ 3 2. การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 40) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) ประสานฝ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังนี้ 2.1 การดูแลตัดต้นไม้ โดย ฝ่ายรักษาความสะอาด (7 คะแนน) 2.2 การติดตั้งไฟฟ้า โดย ฝ่ายโยธา (7 คะแนน) 2.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม โดย ฝ่ายเทศกิจ (7 คะแนน) 2.4 ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง โดย ฝ่ายรักษาความสะอาด (7 คะแนน) 2.5 รวบรวมผลการดำเนินงานแก้ไขจุดเสี่ยงภัย ตามข้อ 2.1 – 2.4 รายงานให้ผู้บริหารและสำนักเทศกิจทราบ (12 คะแนน 3. การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 60) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) มีการจัดทำแผนเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย ดังนี้ 3.1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด (15 คะแนน) 3.2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพ การทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 1 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข (15 คะแนน) 3.3 ปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกด้านการจราจรตามโครงการอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด (15 คะแนน) 3.4 ปฏิบัติหน้าที่กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์หรือล้อเลื่อนบนทางเท้าไม่มีคดีอุบัติเหตุบนทางเท้า ร้อยละ 100 (15 คะแนน)
ความสำเร็จของการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยร่วมกับการเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย x 100 หาร ความสำเร็จของการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยร่วมกับการเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยตามแผน
ตามแบบรายงานที่ สนท. กำหนด
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |