ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ประชาสัมพันธ์ให้ผู้มาติดต่อราชการทำแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT)
ประชาสัมพันธ์ให้ผู้มาติดต่อราชการทำแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก (EIT) และจัดทำข้อมูล OIT
จัดทำข้อมูล OIT จำนวน 43 หัวข้อผ่านระบบเว็บไซต์ของสำนักงานเขตพญาท ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้มาติดต่อราชการทำแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก (EIT) จำนวน 451 ราย และเจ้าหน้าที่ทำแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก (IIT) ครบ 100 %
ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ที่ ป.ป.ช. กำหนด นำเข้าสู่ระบบการประเมิน (BANGKOKITA) ผลคะแนนดังนี้ ผลคะแนน IIT = 94.33 ผลคะแนน EIT = 90.55 ผลคะแนน OIT = 100
การประเมินคุณธรรมและ (24 หน่วยงาน) การประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ความโปร่งใสในการดำเนินงาน พ.ศ. 2564 : ร้อยละ 37.25 ของหน่วยงานภาครัฐ ( Integrity and Transparency ของหน่วยงานภาครัฐ (19 หน่วยงาน) Assessment : ITA) เป็นเครื่องมือในเชิงบวกที่มุ่งพัฒนา (Integrity and Transparency พ.ศ. 2565 : อยู่ระหว่าง ระบบราชการไทยในเชิงสร้างสรรค์มากกว่ามุ่งจับผิด Assessment : ITA) มีคะแนน ดำเนินการ เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐได้รับทราบถึงสถานะและปัญหา ไม่น้อยกว่า ระดับ A การดำเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใสขององค์กร เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน การให้บริการ สามารถอำนวยความสะดวก และตอบสนองต่อประชาชนได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งแผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริต และประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้กำหนดให้ การประเมิน ITA เป็นตัวชี้วัด โดยกำหนดให้ภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ (ITA) จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 จะต้องได้คะแนน 85 คะแนนขึ้นไป หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมิน : ในภาพรวม ของกรุงเทพมหานคร และสำนักงานเขต 50 เขต (ผลการประเมิน 51 ข้อมูล) ระดับผลการประเมิน (Rating Score) จำแนกออกเป็น 7 ระดับ ดังนี้ ระดับ AA (Excellence) 95.00 – 100 คะแนน ระดับ A (Very Good) 85.00 – 94.99 คะแนน ระดับ B (Good) 75.00 – 84.99 คะแนน ระดับ C (Fair) 65.00 – 74.99 คะแนน ระดับ D (Poor) 55.00 – 64.99 คะแนน ระดับ E (Extremely Poor) 50.00 – 54.99 คะแนน ระดับ F (Fail) 0 – 49.99 คะแนน ภารกิจของหน่วยงาน/ส่วนราชการฯ ที่เกี่ยวข้อง 1. สำนักงาน ก.ก. (หน่วยงานหลัก) 1.1 ร ั บผ ิ ดชอบการประเมินในภาพรวมของ กรุงเทพมหานคร โดยดำเนินการและรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับการประเมินจากทุกหน่วยงานและส่วนราชการ ในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร และนำเข้าสู่ระบบ การประเมิน (ITAS) ของสำนักงาน ป.ป.ช. 1.2 สนับสนุนการดำเนินการประเมินของสำนักงานเขต และให้คำปรึกษา แนะนำ และตอบคำถามเกี่ยวกับการประเมิน 2. สำนักงานเขต (หน่วยงานร่วม) รับผิดชอบการประเมินรายสำนักงานเขต โดยดำเนินการ และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินจากทุกฝ่าย และ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขต และนำเข้าสู่ระบบการประเมิน (BANGKOKITA) ของสำนักงาน ป.ป.ช
คำนวณจากผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ของ สำนักงาน ป.ป.ช.
เอกสารประกอบการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล |
:๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล% |
:๗.๓.๑.๓ ส่งเสริมด้านคุณธรรมความโปร่งใสในการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลและส่งเสริมให้กรุงเทพมหานครมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น |