ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ 100 : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ดำเนินการตามโครงการโดยมอบหมายเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจตราจุดที่กำหนดเป็นจุดเสี่ยงภัย เช่น ซอยเปลี่ยว สะพานลอยคนเดินข้าม อาคารร้าง สถานศึกษา บ้านบุคคลสำคัญ เพื่อให้ประชาชนโดยทั่วไปได้รับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มมากขึ้น อย่างน้อย 1 ครั้ง/วัน
-ดำเนินการตามโครงการโดยมอบหมายเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจตราจุดที่กำหนดเป็นจุดเสี่ยงภัย เช่น ซอยเปลี่ยว สะพานลอยคนเดินข้าม อาคารร้าง สถานศึกษา บ้านบุคคลสำคัญ เพื่อให้ประชาชนโดยทั่วไปได้รับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มมากขึ้น อย่างน้อย 1 ครั้ง/วัน
-1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจบริเวณจุดที่กำหนด วันละ 3 ครั้ง/จุด 2. ไตรมาสที่ 3 (เมษายน-มิถุนายน 2561) เหตุการณ์ปกติ ไม่พบเหตุร้ายแต่อย่างใด 3. ฝ่ายรักษาได้ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อม โดยการตัดต้นไม้ 4. ฝ่ายโยธาได้ดำเนินการตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดเสี่ยง 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจได้ดำเนินการตามโครงการกลับบ้านปลอดภัยบริเวณจุดเสี่ยง 6. เจ้าหน้าที่เทศกิจ โยธา และปกครอง ได้มีการตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยงเป็นประจำทุกวัน 7.เจ้าหน้าที่จัดเจ้าหน้าที่อาสาจราจร พาน้องข้ามถนน ช่วงเช้า และช่วงเย็น วันละ 2 ครั้ง 8. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการฯ ให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ
-1.โครงการตรวจพื้นที่เสี่ยงภัย ดำเนินการดังนี้ -จัดเจ้าหน้าที่ดำเนินการตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตจำนวน 8 จุด ตรวจวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุดระหว่างเดือนตุลาคม 2560 - 10 กันยายน 2561 รวม 8,760 ครั้ง -ดำเนินการทอดแบบสอบถามความ พึงพอใจของประชาชนต่อการปฏิบัติงานตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรมของเจ้าหน้าที่เทศกิจ จำนวน 960 ชุด คิดเป็นร้อยละ 87.60 หรือคะแนนเฉลี่ย 4.396 2.โครงการกลับบ้านปลอดภัยไป กับเทศกิจ -จัดเส้นทางการจัดรถบริการประชาชนในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง จำนวน 3 เส้นทาง ได้แก่ 1.ปากซอยถนนรามอินทรา 21-23 2.ถนนสุขาภิบาล 5 แยก 5 3.ปากซอยลาดปลาเค้า 66 ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560- 31 กันยายน 2561 มีประชาชนใช้บริการ จำนวน 41 คน -ผลสำรวจความพึงพอใจของประชาชน จำนวน 240 คน ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.752 คิดเป็นร้อยละ 95.05 3.3.โครงการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัย แจ้งการไฟฟ้าติดตั้ง 88 ดวง -การไฟฟ้า ยังไม่ได้แจ้งการติดตั้ง 56 ดวง -การไฟฟ้า แจ้งการติดตั้งแล้ว 32 ดวง (อยู่ระหว่างการเบิกจ่ายเงินให้การไฟฟ้า) จำนวน 11 ดวง/รอจัดสรรปี 2562 จำนวน 21 ดวง) แจ้งการไฟฟ้าซ่อมแซม -แจ้งการไฟฟ้า ซ่อมแซม 1,266 ดวง -ซ่อมแซมแล้ว 1,031 ดวง คงเหลือยังไม่ได้ซ่อมแซม 235 ดวง 44.กิจกรรมปรับสภาพแวดล้อม ด้วยการดูแล ตัดต้นไม้ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณ ป้ายรถประจำทาง ในพื้นที่เสี่ยงภัย -ได้ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแล ตัดต้นไม้ ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทางในพื้นที่เสี่ยงภัย ร่วมกับฝ่ายเทศกิจ และฝ่ายโยธาในพื้นที่เสี่ยงภัยที่กำหนดไว้ 5. โครงการเทศกิจอาสาจราจร/พาน้องข้ามถนน /โครงการเทศกิจ School Care - จัดเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวกด้านการจราจร บริเวณหน้าโรงเรียนในพื้นที่เขต จำนวน 9 โรงเรียนวันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด ระหว่างเดือนตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 -มีการจัดอบรมให้ความรู้ด้านการจราจรให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง -ดำเนินการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของของประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติงานของเทศกิจ จำนวน จำนวน 1,080 ชุด คิดเป็นร้อยละ 87.85 หรือคะแนนเฉลี่ย 4.392 6.กิจกรรมการตรวจสอบกล้อง วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่เขต -ดำเนินการตรวจสอบกล้องวงจรปิด ในพื้นที่ทุกวันอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง /วัน/จุด ดังนี้ 1.ฝ่ายเทศกิจ ตรวจสอบกล้องวงจรปิด แบบไม่เชื่อมโยงสัญญาณภาพ แขวงอนุสาวรีย์ จำนวน 236 จุด 2.ฝ่ายโยธา ตรวจสอบกล้องวงจรปิด แบบไม่เชื่อมโยงสัญญาณภาพ แขวงท่าแร้ง จำนวน 187 จุด 3.ฝ่ายปกครอง ตรวจสอบกล้องวงจรปิด แบบเชื่อมต่อสัญญาณภาพ จำนวน 40 จุด 4.สรุปรายงานผู้อำนวยการเขตและสำนักการจราจรและขนส่ง เดือนละ 1 ครั้ง หากพบว่ามีการชำรุดประสานแจ้งทางไลน์ให้สำนักการจราจรและขนส่งแก้ไขทันที
จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อ ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อม ด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนน เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด 1. สำนักเทศกิจ มีข้อมูลจุดเสี่ยงภัยของสำนักงานเขต จำนวน 1 ชุด 2. สำนักงานเขต มีการจัดทำแผนเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย ดังนี้ 2.1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด (ฝ่ายเทศกิจ) 2.2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 1 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข (ฝ่ายเทศกิจ) 2.3 จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการดูแลตัดต้นไม้ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ (ฝ่ายเทศกิจ ฝ่ายรักษาฯ ฝ่ายโยธา) 2.4 ปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกด้านการจราจรตามโครงการอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด (ฝ่ายเทศกิจ) 3. สำนักงานเทศกิจ มีการจัดทำแผนเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย 3.1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 1 ครั้ง/เดือน/จุด 3.2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงาน 1 ครั้ง/เดือน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข 3.3 ปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกด้านการจราจรตามโครงการอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร 2 ครั้ง/วัน/จุด 3.4 ท่าเทียบเรือ (ตั้งแต่สะพานซังฮี้ – สะพานกรุงเทพ) มีการตรวจตราความปลอดภัย จำนวน 2 ครั้ง/วัน- 4. สำนักเทศกิจ และสำนักงานเขต ดำเนินการตามแผนการเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย พร้อมรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารหน่วยงานทราบเป็นประจำทุกเดือน 5. สำนักเทศกิจ ติดตามผลการดำเนินงานตามแผน การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยของทุกสำนักงานเขต และสรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมรายไตรมาส ให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานครทราบ
จำนวนจุดเสี่ยงภัย (จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ) ทุกจุด ในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้รับการเฝ้าระวังและตรวจตรา
จัดเก็บที่ฝ่ายเทศกิจ
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |