รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ตัวชี้วัดที่ 4 ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน : 5012-6521

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 50
3
50.00
100
100 / 0
4
100.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำนักงานก.ก. พิจารณาแนวทางการดำเนินการพัฒนานัวตกรรม ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักงานก.ก. พิจารณาแนวทางการดำเนินการพัฒนานัวตกรรม ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานเขตบางเขน ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2566 แจ้งผลให้ดำเนินการแก้ไข ผลการพิจารณาไม่ผ่าน แล้วให้จัดส่งแนวคิดการพัฒนานวัตกรรมเพิ่มเติม และให้จัดส่งในวันที่ 4 เมษายน 2566 เพื่อให้คณะกรรมการพิจารณาใหม่อกคีั้งในวันที่ 3 พ.ค.66

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักงานก.ก. พิจารณาแนวทางการดำเนินการพัฒนานัวตกรรม ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานเขตบางเขน ครั้งที่ 2 แล้วให้สำนักงานเขตบางเขนดำเนินการแก้ไข และเริ่มพัฒนานวัตกรรมตั้งแต่เดือนพฤษาภคม 2566 ชื่อโครงการถนนเทพรักษ์สายน่ามอง สายสะอาด และสายปลอดภัยด้วยการมีส่วนร่วมของเครือข่าย นวัตกรรมที่พัฒนา คือ การมีส่วนร่วม และกระบวนการทำงานภายใต้การบูรณาการกับทุกภาคีเครือข่าย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รายละเอียดการดำเนินงาน : ประเมินจากประชาชนที่สัญจรผ่านไปมาบริเวณถนนเทพรักษ์โดยการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจผ่านช่องทางออนไลน์ และแจกแบบสอบถามความพึงพอใจ ค่าคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ย เท่ากับ 4.955 คิดเป็นร้อยละ 99.100 ข้อแสนแนะเพิ่มเติม ของการพัฒนาถนนเทพรักษ์ 1. จุดเด่นของโครงการที่ท่านประทับใจ คือ 1.1 สวนสาธารณะดูสวยงามมากขึ้น 1.2 ถนนกว้าง ถนนสะอาด 1.3 เกาะกลางถนนสวยงาม เจ้าหน้าที่ดูแลเอาใจใส่ดี 2. จุดที่ควรปรับปรุงอย่างเร่งด่วน (ไม่มี) 3. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 3.1 รถจอดกีดขวางบนถนน 3.2 ช่วงกลับรถไกล มีการนำนวัตกรรมไปใช้ภายในปีงบประมาณ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2566 การติดตามผลการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ 1. ประชุมเครือข่ายเป้าหมายที่อาศัยสองฝั่งถนน ทั้ง หน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายเอกชน เครือข่ายประชาสังคม และสถานประกอบการ รับทราบปัญหาและร่วมหาแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาภายใต้ถนนเทพรักษ์สายน่ามอง สายสะอาด และสายปลอดภัยด้วยเครือข่าย 2. มีกลุ่มไลน์เครือข่าย เพื่อแจ้งแนวคิด ขั้นตอน รวมถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานโดยบูรณาการร่วมกัน เพื่อพัฒนาพื้นที่ 3. จัดทำ google form ให้ประชาชนแจ้งเหตุหรือแสดงความพึงพอใจผ่านระบบออนไลน์บนเว็บไซด์ของหน่วยงาน โดยกรอกข้อมูลรายละเอียดใน google form หรือสแกนผ่าน QR-CODE 4. จัดเจ้าหน้าที่ประจำพื้นที่ คอยดูแล และจัดระเบียบอย่างต่อเนื่อง 5. ผู้บริหารเขต และเครือข่าย ลงพื้นที่ ติดตามผลการดำเนินงาน 6. สำนักงานเขตและเครือข่าย มีการเผยแพร่ผลการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนเทพรักษ์ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และช่องทางต่าง ๆ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นวัตกรรม หมายถึง แนวคิด วิธีและรูปแบบใหม่ๆ ในการจัดการองค์กร การดำเนินงาน และ การให้บริการอันเป็นผลมาจากการสร้าง พัฒนา เพิ่มพูน ต่อยอด หรือประยุกต์ใช้องค์ความรู้และแนวปฏิบัติต่างๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพประสิทธิผล หรือคุณภาพของการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (ที่มา:ศูนย์นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาระบบราชการไทย สำนักงาน ก.พ.ร.) เกณฑ์การประเมิน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 กระบวนการค้นหาและคัดเลือกแนวคิด ขั้นตอนการดำเนินการ 1.การค้นหาแนวคิด 10 คะแนน 2.คัดเลือกแนวคิด 10 คะแนน ส่วนที่ 2 : การกลั่นกรองนวัตกรรม ขั้นตอนการดำเนินการ คณะกรรมการนวัตกรรมของกรุงเทพมหานครพิจารณากลั่นกรองโครงการนวัตกรรมฯ ส่วนที่ 3 : ผลการดำเนินการ ขั้นตอนการดำเนินการ ตัวชี้วัด 1. ผลผลิตนวัตกรรม 1 ชิ้น 30 คะแนน 2. ระยะเวลาการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ (ไม่น้อยกว่า 30 วัน) 10 คะแนน 3. รายงานผลการสำรวจการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ 10 คะแนน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ตามที่สำนักงานก.ก.กำหนด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ทุกส่วนราชการ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง