รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จในการดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและ เพิ่มต้นไม้ล้านต้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร : 5012-6526

ค่าเป้าหมาย ต้น : 2700

ผลงานที่ทำได้ ต้น : 60

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ต้น)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00
100
100 / 0
2
50.00
100
100 / 0
3
60.00
100
100 / 0
4
100.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลการดำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 -มกราคม 2566 ดังนี้ 1.ปรับปรุงพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตบางเขน ดังนี้ - ประดับตกแต่งเมืองด้วยไม้ดอก ไม้ประดับทั่วพื้นที่เขตบางเขน เนื่องในโอกาสวันสำคัญและเทศกาลต่างๆ และขออนุมัติเงินประจำงวดเพื่อการจัดซื้อต้นไม้ วัสดุปลูกและอุปกรณ์ในการตกแต่ง 2.กิจกรรมปลูกต้นไม้ ล้านต้น -เดือนตุลาคม 2565 ปลูกต้นไม้ - ปลูกต้นชะแมบทองบริเวณเกาะกลางถนนเทพรักษ์ 150 ต้น -ปลูกต้นทองอุไร ถนนผลาสินธุ์ จำนวน 100 ต้น -เดือนพฤศจิกายน 2565 - ปลูกต้นชะแมบทองบริเวณเกาะกลางถนนเทพรักษ์ 150 ต้น - ปลูกต้นทองอุไร ถนนผลาสินธุ์ จำนวน 100 ต้น -เดือนธันวาคม 2565 ปลูกต้นทองอุไร บริเวณถนนผลาสินธุ์ 250 ต้น -เดือนมกราคม 2566 กำหนดปลูกต้นทองอุไร ต้นชะแมบทอง จำนวน 250 ต้น บริเวณถนนเทพรักษ์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการปลูกต้นไม้ไปแล้ว 3,008 ต้น จำแนกเป็น 1. ไม้ยืนต้น 399 ต้น 2. ไม้พุ่ม 2,439 ต้น 3. ไม้เถา 170 ต้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักงานเขตบางเขน ดำเนินการตามตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่มต้นไม้ล้านต้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.สำรวจพื้นที่เป้าหมายในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่มต้นไม้ล้านต้นในพื้นที่เขตบางเขน 2. ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่มต้นไม้ล้านต้นในพื้นที่เขตบางเขน 1. ปี 2566 เพิ่มสวน 15 นาที 2 สวน รวมพื้นที่ 4 ไร่ 1 งาน (1,700 ตร.วา) ได้แก่ -สวนหย่อมถนนเทพรักษ์ (สวนขนาดเล็ก) พื้นที่ 3 งาน -สวนหย่อมพุทธวิชชาลัย (สวนหมู่บ้าน) พื้นที่ 3 ไร่ 2 งาน 2. ปี 2566 ปลูกต้นไม้ล้านต้น จำนวนทั้งหมด 7,560 ต้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักงานเขตบางเขน ดำเนินการตามตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่มต้นไม้ล้านต้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.สำรวจพื้นที่เป้าหมายในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่มต้นไม้ล้านต้นในพื้นที่เขตบางเขน 2. ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่มต้นไม้ล้านต้นในพื้นที่เขตบางเขน 1. ปี 2566 เพิ่มสวน 15 นาที 2 สวน รวมพื้นที่ 4 ไร่ 1 งาน (1,700 ตร.วา) ได้แก่ -สวนหย่อมถนนเทพรักษ์ (สวนขนาดเล็ก) พื้นที่ 3 งาน -สวนหย่อมพุทธวิชชาลัย (สวนหมู่บ้าน) พื้นที่ 3 ไร่ 2 งาน 2. ปี 2566 ปลูกต้นไม้ล้านต้น จำนวนทั้งหมด 9,022 ต้น -ไม้ยืนต้น 1,680 ต้น ,ไม้พุ่ม 7,342 ต้น ,ไม้เถา 0 ต้น คิดเป็น 300.73% 3.รายงานผลการดำเนินงานในระบบ Bangkok.tree - รายงานจำนวนต้นไม้ที่ปลูกแล้วเสร็จตามเป้าหมาย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม การเพิ่มพื้นที่สีเขียว หมายถึง การเพิ่มพื้นที่สาธารณะที่ ประชาชนสามารถเข้าใช้ประโยชน์ได้ การเพิ่มต้นไม้ล้านต้น หมายถึง การปลูกต้นไม้ตามนโยบายของ ผู้ว่ากรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตร์การปลูกไม้ 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) พื้นที่ขนาดใหญ่ สวนสาธารณะน้อย 2) พื้นที่ขนาดใหญ่ สวนสาธารณะมาก 3) พื้นที่ขนาดเล็ก สวนสาธารณะน้อย 4) พื้นที่ขนาดเล็ก สวนสาธารณะมาก ภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักสิ่งแวดล้อม 1. กำหนดแผนการดำเนินงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่ม ต้นไม้ล้านต้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. สนับสนุนการจัดการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่มต้นไม้ล้านต้น แผนการดำเนินงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่มต้นไม้ล้านต้นใน พื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. ติดตาม และผลักดันการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครและสรุปผลการดำเนินงาน สำนักงานเขต 1. สำรวจพื้นที่เป้าหมายในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่มต้นไม้ ล้านต้นในพื้นที่รับผิดชอบ 2. ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและ เพิ่มต้นไม้ล้านต้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. รายงานผลการดำเนินการตามรูปแบบที่กำหนด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ 1. จำนวนต้นไม้ที่ดำเนินการปลูกแล้วเสร็จ หาร จำนวนต้นไม้ตาม เป้าหมายยุทธศาสตร์การปลูกไม้ที่กำหนดในปี 2566 คูณ 100 2. จำนวนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่ดำเนินการแล้วเสร็จ หาร จำนวน การเพิ่มพื้นที่สีเขียวตามเป้าหมายที่กำหนดในปี 2566 คูณ 100 3. นำผลการดำเนินการตามข้อ 1 และ ข้อ 2 มาเฉลี่ยรวมกัน วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. รายงานผลการดำเนินการ 2. สรุปผลการดำเนินการ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
:๒.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยตั้ง%
:๒.๑.๓.๑ การจัดการมูลฝอยต้นทางอย่างมีประสิทธิภาพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง