ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 205
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ผลการดำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565-ธันวาคม 2566 ดังนี้ 1. จัดเก็บขยะอินทรีย์เฉลี่ยประมาณ 28,000 กิโล เพื่อนำไปเลีั้ยงสัตว์ และทำปุ๋ยหมัก 2.แจกน้ำปุยหมักชีวภาพ ณ สำนักนักงานเขตบางเขน จำนวน400 ลิตร 3.ออกรณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ ไม่เทรวม จำนวน 6 แห่ง 4.ออกสาธิตให้ความรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ให้กับโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ชุมชน หมู่บ้านและหน่วยราชการ จำนวน 1 ครั้ง
ผลการดำเนินการตั้งแต่เดือนมกราคม-มีนาคม 2566 ดังนี้ 1. จัดเก็บขยะอินทรีย์เฉลี่ยประมาณ 28,000 กิโล เพื่อนำไปเลีั้ยงสัตว์ และทำปุ๋ยหมัก 2.แจกน้ำปุยหมักชีวภาพ ณ สำนักนักงานเขตบางเขน จำนวน400 ลิตร 3.ออกรณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ ไม่เทรวม จำนวน 6 แห่ง 4.ออกสาธิตให้ความรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ให้กับโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ชุมชน หมู่บ้านและหน่วยราชการ จำนวน 1 ครั้ง
สำนักงานเขตบางเขน ดำเนินการตามตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการดำเนินการส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะตามประเภทแหล่งกำเนิด ดังนี้ 1.จัดทำคำสั่งมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ 2.จัดทำแผนการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การคัดแยกมูลฝอย 3.ดำเนินการตามแผนการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การคัดแยกมูลฝอย จากแหล่งกำเนิด 7 ประเภทหลัก 1.สถานศึกษา จำนวน 5 แห่ง 2.อาคาร จำนวน - แห่ง 3.ชุมชน จำนวน 74 แห่ง 4.ศาสนสถาน จำนวน 4 แห่ง 5.ตลาด จำนวน 4 แห่ง 6.งานกิจกรรม จำนวน 6 แห่ง 7.อื่นๆ จำนวน - แห่ง รวม 93 แห่ง 4.รายงานในระบบติดตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร Digital plan 5. การรายงานจาก Google Drive แบบติดตามการดำเนินการกิจกรรมส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิด
สำนักงานเขตบางเขน ดำเนินการตามตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการดำเนินการส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะตามประเภทแหล่งกำเนิด ดังนี้ 1.จัดทำคำสั่งมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ 2.จัดทำแผนการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การคัดแยกมูลฝอย 3.ดำเนินการตามแผนการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การคัดแยกมูลฝอย จากแหล่งกำเนิด 7 ประเภทหลัก รวม 205 แห่ง 4.รายงานในระบบติดตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร Digital plan 5. การรายงานจาก Google Drive แบบติดตามการดำเนินการกิจกรรมส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิด
นิยาม 1. การดำเนินการลดและคัดแยกขยะ หมายถึง การรณรงค์สร้าง ความร่วมมือในกลุ่มเป้าหมาย โดยการนำแนวคิดการแยกขยะ ด้วยการส่งเสริมสมาชิกชุมชน/องค์กร เพื่อให้เกิดกระบวนการ ลดและคัดแยกขยะเพื่อนำมาหมุนเวียนใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น 2. ประเภทแหล่งกำเนิด แบ่งเป็น 7 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) สถานศึกษา 2) อาคาร 3) ชุมชน 4) งานกิจกรรม/เทศกาล 5) ตลาด 6) ศาสนสถาน และ 7) อื่นๆ ภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักสิ่งแวดล้อม 1. จัดทำแนวทางและบริหารจัดการภาพรวมในการขับเคลื่อน ตัวชวี้ ัดและชี้แจงแนวทางการดำเนินการแก่หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางที่กำหนด 2. ให้การสนับสนุนการดำเนินการของสำนักงานเขตในการ บริหารจัดการขยะตามแนวทางที่กำหนด 3. ติดตามประเมินผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดและสรุปผล การดำเนินงาน สำนักงานเขต 1. ดำเนินการรณรงค์สร้างความร่วมมือคัดแยกขยะก่อนทิ้งด้วย การส่งเสริมสมาชิกชุมชน/องค์กรร่วมกันลดการเกิดขยะ ดังนี้ 1) ส่งเสริมการลด ละ เลิกการใช้พลาสติกหรือบรรจุภัณฑ์ ประเภทใช้ครั้งเดียวทิ้ง Reduce (ใช้น้อย) 2) ส่งเสริมการใช้ภาชนะที่ใช้ซ้ำได้ การบริโภคสินค้าคืนขวด หรือบรรจุภัณฑ์ Reuse (ใช้ซ้ำ) 3) คัดแยกขยะก่อนทิ้งเป็น 4 ประเภท แบ่งเป็นสองส่วน ส่วนที่ 1 แยกแล้วนำไปใช้ประโยชน์เอง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) วัสดุรีไซเคิล โดยการขายหรือบริจาค (2) ขยะเศษอาหาร นำมาทำปุ๋ยหมัก และน้ำหมัก ชีวภาพ และแยกน้ำมันพืชใช้แล้วขาย ส่วนที่ 2 แยกเพื่อส่งกำจัด 4 ประเภท ได้แก่ ขยะอันตราย ขยะเศษอาหาร ขยะทั่วไป ขยะชิ้นใหญ่
วิธีคำนวณ/วัดผลการดำเนินงาน นับจำนวนองค์กรหรือชุมชนที่ร่วมดำเนินการลดและคัดแยกขยะ ตาม 6 กลุ่มประเภทแหล่งกำเนิด
วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. แบบรายงานผลการดำเนินการ 2. สรุปผลการดำเนินการ
:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
:๒.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยตั้ง% |
:๒.๑.๓.๑ การจัดการมูลฝอยต้นทางอย่างมีประสิทธิภาพ |