รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

2566 ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม : 5013-6541

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. สำรวจจุดเสี่ยงภัยที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตมีนบุรี ได้จำนวน 7 จุด ได้แก่ 1 หน้าวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี 2 สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 มีนบุรี 3 หน้าโรงเรียนมีนบุรี 4 หน้าโรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน 5 ทางเดินริมคลองเจ๊ก 6 ทางเดินเลียบคลองบึงขวาง 7 ปากซอยราษฎร์อุทิศ 7/1 2. จัดทำบัญชีจุดเสี่ยง/จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ/จัดทำคำสั่งมอบหมายงาน 3. ติดตั้งตู้เขียว/ทำสมุดบันที่การตรวจของเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจ 4. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 5. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 6. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 7. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 8. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 9. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 10. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 11. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย ตมาหนังสือที่ กท 5209/3928 ลว.13 มิ.ย.66 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด เหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

เฝ้าระวังและตรวจตราไม่ให้มีอาชญากรรมเกิดขึ้นในบริเวณจุดเสี่ยง จุดล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 7 จุด ได้แก่ 1. หน้าวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี 2. สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 มีนบุรี 3. โรงเรียนมีนบุรี 4. โรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน 5. ทางเดินริมคลองเจ๊ก 6. ทางเดินเลียบคลองบึงขวาง 7. ปากซอยราษฎร์อุทิศ 7/1 โดยจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจตราวันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนจุดเสี่ยงภัยที่ได้รับการแก้ไขเฝ้าระวังและตรวจตราคูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนจุดเสี่ยงภัยที่สำรวจทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

รายงานผลการปฏิบัติงานตามโครงการฯ ให้ผู้อำนวยการเขตมีนบุรี และสำนักเทศกิจทราบภายในวันที่ 5 ของเดือน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง