รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

มิติที่ 3 (3.2) ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) : 5018-0775

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00
100
100 / 100
2
42.16
100
100 / 100
3
92.50
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไตรมาสที่ 1 โครงการเพิ่มช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนผ่าน Line@ (Best Service) รักษารอบ - เดือนต.ค. 61 เรื่องร้องเรียน ไม่มี - เดือนพ.ย. 61 เรื่องร้องเรียน ไม่มี - เดือนธ.ค. 61 เรื่องร้องเรียน ไม่มี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาส 2 (Best Service) รักษารอบ โครงการเพิ่มช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนผ่าน Line@ (ฺBest Service) รักษารอบ (ร้อยละ 60) - เดือนม.ค. 62 เรื่องร้องเรียน ไม่มี - เดือนก.พ. 62 เรื่องร้องเรียน ไม่มี - เดือนมี.ค. 62 เรื่องร้องเรียน ไม่มี โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปี 2562 ร้อยละ 24.32 1. ผลิตน้ำหมักชีวภาพจากขยะที่คัดแยกจากตลาดทั้ง 4 ตลาด จำนวน 2,000 บาทขวดต่อเดือน 2. ผู้ค้าในตลาดไม่มีการแจกจ่ายถุงพลาสติกหูหิ้วและกล่องโฟมในตลาดทั้ง 4 ตลาด ในวันที่ 1 และ 16 ของเดือน จำนวน 10 ราย จาก 44 ราย 3. ตลาดที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านเกณฑ์ตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยระดับทอง จำนวน 0 แห่ง จาก 4 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ไตรมาส 3 (Best Service) รักษารอบ โครงการเพิ่มช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนผ่าน Line@ (ฺBest Service) รักษารอบ (ร้อยละ 60) - เดือนเมษายน 62 เรื่องร้องเรียน ไม่มี - เดือนพฤษภาคม 62 เรื่องร้องเรียน ไม่มี - เดือนมิถุนายน 62 เรื่องร้องเรียน ไม่มี โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปี 2562 ร้อยละ 92.50 1. ผลิตน้ำหมักชีวภาพจากขยะที่คัดแยกจากตลาดทั้ง 4 ตลาด จำนวน 2,000 บาทขวดต่อเดือน 2. ผู้ค้าในตลาดไม่มีการแจกจ่ายถุงพลาสติกหูหิ้วและกล่องโฟมในตลาดทั้ง 4 ตลาด ในวันที่ 1 และ 16 ของเดือน จำนวน 10 ราย จาก 44 ราย 3. ตลาดที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านเกณฑ์ตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยระดับทอง จำนวน 0 แห่ง จาก 4 แห่ง ** 3 ** 92.50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไตรมาส 4 (Best Service) (Best Service) รักษารอบ โครงการเพิ่มช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนผ่าน Line@ (ฺBest Service) รักษารอบ (ร้อยละ 80) - เดือนเก.ค. 62 เรื่องร้องเรียน 1 เรื่อง ประเภทเขื่อน คู คลอง - เดือนส.ค. 62 เรื่องร้องเรียน 1 เรื่อง ประเภทถนน เดือนก.ย. 62 เรื่องร้องเรียน ไม่มี คิดเป็น 100% โครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปี 2562 ร้อยละ 100 1. ผลิตน้ำหมักชีวภาพจากขยะที่คัดแยกจากตลาดทั้ง 4 ตลาด จำนวน 2,000 บาทขวดต่อเดือน รวมผลิตได้ 21,928 ขวด คิดเป็นร้อยละ 137.05 2. ผู้ค้าในตลาดไม่มีการแจกจ่ายถุงพลาสติกหูหิ้วและกล่องโฟมในตลาดทั้ง 4 ตลาด ในวันที่ 1 และ 16 ของเดือน จำนวน 44 ราย จาก 44 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 3. ตลาดที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านเกณฑ์ตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยระดับทอง จำนวน 4 แห่ง จาก 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

-

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. จำนวนน้ำหมักชีวภาพที่เกิดจากแปรรูปขยะประเภทเศษผักและผลไม้จากตลาดทั้ง 4 แห่ง ไม่น้อยกว่า 2,000 ขวดต่อเดือน 2. ร้อยละ 100 ของจำนวนตลาดที่เข้าร่วมโครงการมีผลการประเมินเกณฑ์ตลาดสะอาดมาตรฐานอาหารปลอดภัย ในระดับทอง 3. ร้อยละ 100 ของผู้ค้าในตลาดไม่มีการแจกจ่ายถุงพลาสติกและกล่องโฟมในตลาดทั้ง 4 ตลาด ในวันที่ 1 และ 16 ของเดือน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ตลาดสดเอกชน 4 แห่ง ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ ได้แก่ ตลาดท่าพระ ตลาดท่าพระรุ่งเรือง ตลาดศักดิ์เจริญและตลาดโพธิ์สามต้น

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์%
:๗.๕.๑.๑ มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือ มีการเชื่อม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง