ค่าเป้าหมาย ระดับมาก : 4
ผลงานที่ทำได้ ระดับมาก : 4.816
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
เดือนต.ค. 62 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.83 เดือนพ.ย. 62 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.71 เดือนธ.ค. 62 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.91 เฉลี่ยไตรมาส 1 ระดับความพึงพอใจ 4.83+4.71+4.91/3=4.816
ไตรมาส 2 เดือนม.ค. 63 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.79 เดือนก.พ. 63 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.67 เดือนมี.ค. 63 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.71 รวมไตรมาส 2 =4.79+4.67+4.71/3=4.72 เฉลี่ย 2 ไตรมาส 4.83+4.71+4.91+4.79+4.67+4.71/6 = 4.770
ไตรมาส 3 - เดือนเม.ย. 63 ระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการด้านการเงิน ได้ 4.71 เดือนพ.ค. 63- ระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการด้านการเงิน ได้ 4.60 เดือนมิ.ย. 63 ได้รับความพึงพอใจ ได้ 4.67 เดือนมิ.ย. 63 ได้รับความพึงพอใจ 4.67 เฉลี่ยไตรมาส 3 4.71+4.60+4.67/3 = 4.66 สรุป ไตรมาส 1 =4.82 ไตรมาส 2= 4.72 ไตรมาส 3 = 4.66 เฉลี่ย 3 ไตรมาส 4.82+4.72+4.66/3=4.73
ไตรมาส 4 - ดือนต.ค. 62 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.83 เดือนพ.ย. 62 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.71 เดือนธ.ค. 62 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.91 ดือนม.ค. 63 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.79 เดือนก.พ. 63 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.67 เดือนมี.ค. 63 ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ได้ 4.71 เดือนเม.ย. 63 ระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการด้านการเงิน ได้ 4.71 เดือนพ.ค. 63- ระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการด้านการเงิน ได้ 4.60 เดือนมิ.ย. 63 ได้รับความพึงพอใจ ได้ 4.67 เดือนมิ.ย. 63 ได้รับความพึงพอใจ 4.67 เดือนก.ค. 63 ระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการด้านการเงิน ได้ 4.71 เดือนส.ค. 63 ระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการด้านการเงิน ได้ 4.91 เดือนก.ย. 63 ระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการด้านการเงิน ได้ 4.70 สรุปความพึงพอใจ 4.83+4.71+4.91+4.79+4.67+4.71+4.71+4.60+4.67+4.71+4.91+4.70/12=4.74
แรงงานเป็นทุนมนุษย์ซึ่งถือเป็นปัจจัยที่สำคัญและมีคุณค่าต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร ทั้งระดับส่วนย่อยและระดับมหาภาคของระบบเศรษฐกิจ ถ้าแรงงานในภาคการผลิตต่าง ๆ มีความรู้ความสามารถ มีทักษะและศักยภาพสูง มีโอกาสได้ทำงาน มีรายได้ในการประกอบอาชีพ ก็จะส่งผลให้ผลิตภาพการผลิตสูงขึ้น และจะส่งผลสืบเนื่องต่อไปยังการพัฒนาเศรษฐกิจในภาพรวมของกรุงเทพมหานครในที่สุด จากผลการสำรวจสภาวการณ์ทำงานของประชาชน
วิธีคำนวณ ((A*5)+(B*4)+(C*3)+(D*2)+(E*1))/T A = จำนวนผู้ตอบระดับมากที่สุด B = จำนวนผู้ตอบระดับมาก C = จำนวนผู้ตอบระดับปานกลาง D = จำนวนผู้ตอบระดับน้อย E = จำนวนผู้ตอบระดับน้อยที่สุด T = จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด สูตรการหาค่าเฉลี่ย = A+B+C+D+E/T คำนวณค่าโดยใช้สถิติ (ค่าเฉลี่ย) โดยกำหนดใช้ 5 ระดับ -ค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.21 – 5.00 หมายถึงมากที่สุด -ค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.41 – 4.20 หมายถึงมาก -ค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 2.61 – 3.40 หมายถึงปานกลาง -ค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 1.81 – 2.60 หมายถึงน้อย -ค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 1.00 – 1.80 หมายถึงน้อยที่สุด
่จากแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ
:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
:๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจ |
:๓.๒.๑ ผู้ที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจนอกระบบและแรงงานนอกระบบเข้าถึงสวัสดิการและแหล่งเงินทุนอย่าง% |
:๓.๒.๑.๑ แรงงานนอกระบบทราบสิทธิทางสวัสดิการสังคมและแหล่งเงินก |