ค่าเป้าหมาย มาก : 4
ผลงานที่ทำได้ มาก : 4.577
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
เดือนต.ค.-เดือนธ.ค. 62- ได้เข้าร่วมประชุมรับฟังคำชี้แจง เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2562 โดยกองงานผู้ตรวจได้ว่าจ้างสถาบันบัณฑิตพัฒนศาสตร์ (นิด้า) ให้ทำการประเมินความพึงพอใจในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในการตรวจประเมินครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 25 ธ.ค. 62- 5 ม.ค. 63
ไดรมาส 2- ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ได้รับการสำรวจความพึงพอใจจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศาสตร์ (นิด้า) ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 7 ม.ค. 63 ได้รับผลการสำรวจตามหนังสือ ที่ กท 0409/286 ลงวันที่ 13 มี.ค. 63 เฉลี่ยความพึงพอใจก่อนปรับน้ำหนัก 4.470 หลังปรับตามน้ำหนักแล้ว ได้ 4.490
ไตรมาส 3 - เดือนเม.ย. 63 ได้รับหนังสือจากกองงานผู้ตรวจราชการสรุปผลการทอดแบบสอบถาม ครั้งที่ 1 แล้ว ผลสำรวจความพึงพอใจ คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักผลความพึงพอใจของผู้รับบริการจากการสำรวจ คะแนนหลังถ่วงน้ำหนัก 4.490 คำถามที่ได้รับคะแนนสูงสุด คือ เจ้าหน้าที่มีอัธยาศัยสุภาพ คะแนนหลังถ่วงน้ำหนัก 4.723 คำถามที่ได้คะแนนต่ำสุด คือ มีการดูแลอำนวยความสะดวกเรื่องที่จอดรถ ปรับตามน้ำหนักแล้ว 3.085 เดือนพ.ค. 63 ได้ส่งรายงานตามหนังสือ ที่ กท 5700/1858 ลว. 28 เม.ย. 63 เพื่อแก้ไขประเด็นคำถามต่ำสุด 2 อันดับ ข้อคำถาม D14 -ข้อ 1.8 ท่านชอบข้อมูลในเว็บไซต์ (Website) เฟสบุ๊ก (Facebook) หรือไลน์ของสนข. ในระดับใด ข้อคำถาม D14 ข้อ 1.11 มีการดูแลอำนวยความสะดวกเรื่องที่จอดรถ เดือนมิ.ย. 63 สถาบันบัณฑิตพัฒนศาสตร์ (นิด้า) ได้นำแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ครั้งที่ 2 เพื่อทำการสำรวจความคิดเห็นของผู้ับบริการ เมื่อวันที่ 4 มิ.ย. 63 อยู่ระหว่างรอผลสำรวจความพึงพอใจครั้งที่ 2
ไตรมาส 4 - ได้รับหนังสือจากกองงานผู้ตรวจราชการ ที่ กท 0409/913 ลงวันที่ 14 กันยายน 2563 เรื่อง ส่งรายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สรุปผลความพึงพอใจ ดังนี้ ครั้งที่ 1 ได้คะแนนความพึงพอใจที่ 4.470 ครั้งที่ 2 ได้รับความพึงพอใจที่ 4.684 เฉลี่ย 2 ครั้ง 4.577
การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการบริการของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร หมายถึง การสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง หรือข้าราชการและบุคลากรจากหน่วยงาน/ส่วนราชการทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร ที่หน่วยงานนั้น ๆ ให้บริการ สำรวจครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ เช่น 1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ข้ันตอนการให้บริการ 2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 3. ความพึงพอใจด้านการบริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ 4. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 5. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของหน่วยงาน 6. ความพึงพอใจต่อกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาของหน่วยงาน
วิธีการคำนวณ ผลสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 1 + ผลสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 2/จำนวนครั้งของการสำรวจความพึงพอใจ เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/-1 ระดับ ต่อ 1 คะแนน ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 ระดับความพึงพอใจ 1 2 3 4 5
ให้หน่วยงานผู้รับบริการประเมินจัดเตรียมเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับงานบริการของหน่วยงานนั้น ๆ ไว้ที่หน่วยงานพร้อมให้ผู้ประเมินผลตรวจสอบหรือขอข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อประกอบการวิเคราะห์และประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ |
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์% |
:๗.๕.๑.๑ มีระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับให้บริการประชาชน และ/หรือ มีการเชื่อม |