ค่าเป้าหมาย ้ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ้ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
เดือนต.ค. - เดือนธ.ค. 64 1. ดำเนินการสำรวจพื้นที่จุดเสี่ยงอุบัติเหตุในพื้นที่เขตตรวจพบ จำนวน 5 จุด 2. อยู่ระหว่างการพิจารณาร่วมกับสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อคัดเลือกจุดเสี่ยง จำนวน 2 จุด เพื่อดำเนินการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ
เดือน ม.ค. - มี.ค. 65 1. ดำเนินการสำรวจพื้นที่จุดเสี่ยงอุบัติเหตุในพื้นที่เขต ตรวจพบ จำนวน 7 จุด ดังนี้ - อุโมงค์ทางลอดแยกท่าพระ - เชิงสะพานคลองมอญ หน้าวัดเครือวัลย์ - แยกโพธิ์สามต้น - แยกพาณิชยการธนบุรี - ปากซอยอิสรภาพ 42 - ทางเดินคนข้ามปากซอยเพชรเกษม 4 - ทางเดินคนข้าม ถ.วังเดิม 2. ดำเนินการทาสีขอบจราจรบริเวณจุดเสี่ยง 3. ประสานงานสำนักการจราจรและขนส่งให้ดำเนินการติดตั้งสัญญาณเตือนทางร่วม-ทางแยก ทาสีขอบจราจรบริเวณจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ 4. ดำเนินการซ่อมแซมถนนที่ชำรุดบริเวณจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ
ไตรมาส 3 ดำเนินการตรวจสอบพื้นที่จุดเสี่ยงอุบัติเหตุในพื้นที่เขต จำนวน 7 จุด ดังนี้ - อุโมงค์ทางลอดแยกท่าพระ - เชิงสะพานคลองมอญ หน้าวัดเครือวัลย์ - แยกโพธิ์สามต้น - แยกพาณิชยการธนบุรี - ปากซอยอิสรภาพ 42 - ทางเดินคนข้ามปากซอยเพชรเกษม 4 - ทางเดินคนข้าม ถ.วังเดิม 2. ดำเนินการทาสีขอบจราจรบริเวณจุดเสี่ยง 3. ดำเนินการซ่อมแซมถนนที่ชำรุดบริเวณจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ
ไตรมาส 4 สำนักงานเขต ดำเนินการตรวจสอบพื้นที่จุดเสี่ยงอุบัติเหตุในพื้นที่เขต จำนวน 7 จุด ดังนี้ - อุโมงค์ทางลอดแยกท่าพระ - เชิงสะพานคลองมอญ หน้าวัดเครือวัลย์ - แยกโพธิ์สามต้น - แยกพาณิชยการธนบุรี - ปากซอยอิสรภาพ 42 - ทางเดินคนข้ามปากซอยเพชรเกษม 4 - ทางเดินคนข้าม ถ.วังเดิม 2. ดำเนินการทาสีขอบจราจรบริเวณจุดเสี่ยง 3. ดำเนินการซ่อมแซมถนนที่ชำรุดบริเวณจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ สรุป สำนักงานเขตสามารถทำตามที่สำนักเทศกิจกำหนดไว้เรียบร้อยแล้ว เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
1. จุดเสี่ยงอุบัติเหตุ หมายถึง จุดเกิดอุบัติเหตุ (Black spot) ที่ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน กรุงเทพมหานคร (ศปถ.กทม.) ได้กำหนดให้มีการแก้ไข/ปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) หรือ 2 ปีงบประมาณ หากมีจุดเสี่ยงฯคงเหลือจากปีงบประมาณก่อนหน้า (ปีงบประมาณพ.ศ. 2563) 2. Black spot หมายถึง จุดเกิดอุบัติเหตุที่มีความถี่การเกิดอุบัติเหตุจำนวน 3 ครั้งขึ้นไป และมีผู้บาดเจ็บหรือผู้เสียชีวิต หรืออีกกรณีจุดที่มีแนวโน้มก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ให้ถือว่าเป็นจุด Black spot ด้วย 3. จุดเกิดอุบัติเหตุ หมายถึง จุดเกิดอุบัติเหตุที่วัดระยะทางรัศมีวงกลมจากพิกัดจุดเสี่ยงที่ต้องดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงไม่เกินระยะทาง 50 เมตร 4. การแก้ไข/ปรับปรุง หมายถึง การแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามที่ศปถ.กทม. กำหนดดังข้อที่ 1 โดยปรับปรุงให้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ซึ่งเป็นไปตามอำนาจหน้าที่และขอบข่ายภารกิจของสำนักการจราจรและขนส่ง สำนักการโยธา และสำนักงานเขต การดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1. สำนักการจราจรและขนส่ง (เจ้าภาพหลัก) 1.1 รับผิดชอบภาพรวมความสำเร็จการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ (Black spot) ตามที่ศปถ.กทม. กำหนด 1.2 จัดทำค่าเป้าหมายรายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (เจ้าภาพร่วม) เพื่อกำหนดค่าเป้าหมายการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงฯ ภายใต้ค่าเป้าหมายภาพรวมตามที่ศปถ.กทม. กำหนด 1.3 สำรวจ รวบรวมจุดเสี่ยงฯ และจัดทำแผนปฏิบัติการ โดยมีรายละเอียดโครงการ/กิจกรรมเพื่อแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงฯ ในส่วนที่รับผิดชอบ 1.4 ดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงฯ ในส่วนที่รับผิดชอบ เช่น - ติดตั้ง/รื้อย้าย/ถอดถอน/บำรุงรักษาเครื่องหมายจราจร อุปกรณ์วิศวกรรมจราจร ระบบสัญญาณไฟจราจร และอุปกรณ์ความปลอดภัยต่อผู้สัญจร - ดำเนินการมาตรการสยบการจราจร (Traffic Calming Measures) ในส่วนที่รับผิดชอบ เช่น การทาสีพื้นผิวจราจร การติดตั้งคันชะลอความเร็ว การติดตั้งสัญลักษณ์ต่าง ๆ อันนำไปสู่การชะลอความเร็วยานพาหนะ ฯลฯ จัดส่งให้สำนักการจราจรและขนส่ง 3.3 ดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุในส่วนที่รับผิดชอบ เช่น - บูรณะ/ปรับปรุง/ซ่อมแซมและบำรุงรักษาทาง - ติดตั้ง/รื้อย้าย/ถอดถอน/บำรุงรักษาเครื่องหมายจราจร และอุปกรณ์วิศวกรรมจราจร - ดำเนินการมาตรการสยบการจราจร (Traffic Calming Measures) ในส่วนที่รับผิดชอบ เช่น การติดตั้งกระจกโค้ง ป้ายเตือนต่าง ๆ ฯลฯ - การซ่อมแซมและบำรุงรักษาฝาท่อระบายน้ำ ตะแกรงดักขยะ บนพื้นผิวจราจร และรางระบายน้ำ - การปรับปรุงทัศนวิสัยการขับขี่ยานพาหนะเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ เช่น การตัดแต่งต้นไม้ การติดตั้ง/ซ่อมแซม/ซ่อมบำรุงไฟฟ้าส่องสว่าง การควบคุมการติดตั้งป้ายต่าง ๆ ฯลฯ - อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องตามที่ระบุในแผนฯ ตามข้อ 4.1 กรณีหากสำนักงานเขตใดไม่มีจุดเสี่ยงฯ ให้ดำเนินการตามข้อที่ 4.1 – 4.2 ในจุดที่มีแนวโน้มจะเกิดอุบัติเหตุด้วย 3.4 รายงานผลการดำเนินงานการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุต่อสำนักการจราจรและขนส่ง
1. สำนักการจราจรและขนส่ง (เจ้าภาพหลัก) คำนวณจากจุดเสี่ยงอุบัติเหตุในภาพรวมตามที่ศปถ.กทม. กำหนดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และคงเหลือจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ถ้ามี) โดยมีสูตรคำนวณดังนี้ A = (
1. รายงานจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุตามที่ศปถ.กทม. กำหนดในปีงบประมาณ พ.ศ 2564 และคงเหลือจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ถ้ามี) (สำนักการจราจรและขนส่ง) 2. ค่าเป้าหมายตามที่สำนักการจราจรและขนส่งกำหนด (ทุกหน่วยงาน) 3. แผนปฏิบัติการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามที่ศปถ.กทม. กำหนด ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ทุกหน่วยงาน) 4. หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติเพื่อดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามที่ศปถ.กทม.กำหนด (ทุกหน่วยงาน) 5. รายงานความคืบหน้าหรือผลการดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุในระบบบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (Digital Plan) (ทุกหน่วยงาน)
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๓ - ปลอดอุบัติเหตุ |
:๑.๓.๑ ลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร% |
:๑.๓.๑.๑ ปรับปรุงสภาพถนนและจุดเสี่ยงอันตราย |