ค่าเป้าหมาย ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
๑.สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด ๗๓๘ แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ๘๔ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๓๘ ๒.การดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต สถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาตในพื้นที่มี ๑๘ แห่ง ดำเนินการตรวจแล้ว ๑๘ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 759 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 240 แห่ง
สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 757 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 557 แห่ง
1. สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 777 แห่ง ปิดชั่วคราวเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 จำนวน 31 แห่ง เหลือ 746 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 746 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 2.สถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาตในพื้นที่มี 25 แห่ง ดำเนินการตรวจแล้ว 25 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100
1. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่เขตบางกอกน้อย 2. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 2.1 ด้านสุขลักษณะทางกายภาพ อาคารสถานที่ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความสะอาดและสุขลักษณะของสถานที่ตามประเภทของสถานประกอบการอาหาร และการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่เกี่ยวข้องกับการจำหน่ายและบริโภคอาหาร 2.2 ด้านคุณภาพอาหาร ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัย ได้แก่ (1) อาหารและวัตถุดิบ สุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นทางด้านเคมี อยู่ในเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด ดังนี้ - ต้องไม่พบการปนเปื้อนของสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว และสารกันรา - ต้องไม่พบสีสังเคราะห์ในอาหารที่ห้ามการใช้สี - ต้องไม่พบกรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู - ต้องไม่พบยาฆ่าแมลง และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหารเกินเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด (2) ตรวจความสะอาดของอาหารพร้อมบริโภค ภาชนะอุปกรณ์ มือผู้สัมผัสอาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียเบื้องต้น(SI-2) พบการปนเปื้อนไม่เกินร้อยละ 10 ทั้งนี้ จำนวนตัวอย่างที่สุ่มตรวจให้เป้นไปตามแนวทางการเก็บตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ของแต่ละประเภทสถานประกอบการอาหาร 2.3 ด้านบุคลากร ผู้สัมผัสอาหาร ต้องผ่านการอบรมหรือการเรียนรู้สุขาภิบาลอาหารด้วยตนเอง
จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด
1. โครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. ข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |