ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมดจำนวน 698 แห่ง แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 139 แห่ง มินิมาร์ท จำนวน 51 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 41 แห่ง ตลาดประเภทที่ 1 จำนวน 7 แห่ง ตลาดประเภทที่ 2 จำนวน 1 แห่ง ร้านจำหน่ายอาหารขนาดพื้นที่ ไม่เกิน 200 ตร.ม. จำนวน 369แห่ง ร้านจำหน่ายอาหารขนาดพื้นที่ 200 ตร.ม. ขึ้นไป จำนวน 91 แห่ง ผลการดำเนินการ 1. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 168 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 24.07 2. สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 698 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100
สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมดจำนวน 698 แห่ง แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 139 แห่ง มินิมาร์ท จำนวน 51 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 41 แห่ง ตลาดประเภทที่ 1 จำนวน 7 แห่ง ตลาดประเภทที่ 2 จำนวน 1 แห่ง ร้านจำหน่ายอาหารขนาดพื้นที่ ไม่เกิน 200 ตร.ม. จำนวน 369แห่ง ร้านจำหน่ายอาหารขนาดพื้นที่ 200 ตร.ม. ขึ้นไป จำนวน 91 แห่ง ผลการดำเนินการ 1. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 168 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 24.07 2. สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 698 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100
สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมดจำนวน 699 แห่ง แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 138 แห่ง มินิมาร์ท จำนวน 52 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 41 แห่ง ตลาดประเภทที่ 1 จำนวน 7 แห่ง ตลาดประเภทที่ 2 จำนวน 1 แห่ง ร้านจำหน่ายอาหารขนาดพื้นที่ ไม่เกิน 200 ตร.ม. จำนวน 370แห่ง ร้านจำหน่ายอาหารขนาดพื้นที่ 200 ตร.ม. ขึ้นไป จำนวน 90 แห่ง ผลการดำเนินการ 1. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 404 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 57.8 2. สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 699 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100
สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมดจำนวน 691 แห่ง แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 138 แห่ง มินิมาร์ท จำนวน 44 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 43 แห่ง ตลาดประเภทที่ 1 จำนวน 7 แห่ง ตลาดประเภทที่ 2 จำนวน 1 แห่ง ร้านจำหน่ายอาหารขนาดพื้นที่ ไม่เกิน 200 ตร.ม. จำนวน 371 แห่ง ร้านจำหน่ายอาหารขนาดพื้นที่ 200 ตร.ม. ขึ้นไป จำนวน 87 แห่ง ผลการดำเนินการ 1. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 691 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 2. สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 691 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ข้อมูล ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2566
๑. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหารแผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ทในพื้นที่ ๕๐ เขต ที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ๒. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านอาหาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ดังนี้ (๑) สถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์สุขลักษณะ (๒) อาหารและวัตถุดิบผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัย โดยสุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test-kit) ไม่พบสารเคมีอันตราย ๔ ชนิด คือ สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค สารฟอร์มาลีน และพบการปนเปื้อน โคลิฟอร์มแบคทีเรีย ไม่เกิน ร้อยละ 1๐ กรณี พบการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย หรือ โคลิฟอร์มแบคทีเรีย ให้ออกคำสั่งเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือคำแนะนำให้ผู้ประกอบการอาหาร ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัย โดยสุ่มตรวจวิเคราะห์ซ้ำ (๓) บุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ต้องผ่านการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร และผ่านการทดสอบความรู้ โดยได้รับหนังสือรับรองและบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร ๓. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารฯ หมายถึง ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมสนับสนุนให้สถานประกอบการอาหารสามารถพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหารให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี คูณด้วย ๑๐๐ หารด้วยจำนวนสถานประกอบการ อาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต
จากการลงตรวจสถานประกอบการอาหารในพื้นที่