ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
งบประมาณหลังปรับโอน 393,265,500 บาท รายจ่ายตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 ธันวาคม 2563 เป็นเงิน 48,140,719.06 บาท งบประมาณคงเหลือ 345,124,780.94 บาท :: ความก้าวหน้าของงานฯ = 12.24 %
งบประมาณหลังปรับโอน 393,347,580 บาท รายจ่ายตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 มีนาคม 2564 เป็นเงิน 121,264,148.89 บาท งบประมาณคงเหลือ 272,083,431.11 บาท :: ความก้าวหน้าของงานฯ = 30.83%
งบประมาณหลังปรับโอน 386,776,345 บาท รายจ่ายตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 30 มิถุนายน 2564 เป็นเงิน 204,413,580.88 บาท งบประมาณคงเหลือ 182,362,764.12 บาท :: ความก้าวหน้าของงานฯ = 52.85%
งบประมาณหลังปรับโอน 366,722,545 บาท รายจ่ายตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 - 29 กันยายน 2564 เป็นเงิน 290,259,229.02 บาท งบประมาณคงเหลือ 76,569,315.98 บาท :: ความก้าวหน้าของงานฯ = 100.00 %
หน่วยงานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำงบประมาณ พ.ศ.2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุนและหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือน กันยายน 2564
วิธีการคำนวณ 1. จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 X 100 /งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 = ก% ** นำร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมที่ได้ (ก%) มาเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน เป้าหมาย ร้อยละ 100 สำนักงานเขตอยู่ในกลุ่มหน่วยงาน D เกณฑ์การให้คะแนน 1. ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม - ร้อยละ 80 ได้ 1 คะแนน - ร้อยละ 85 ได้ 2 คะแนน - ร้อยละ 90 ได้ 3 คะแนน - ร้อยละ 95 ได้ 4 คะแนน - ร้อยละ 100 ได้ 5 คะแนน
แบบ ง.401 (รายงานสรุปการใช้จ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย ระดับหน่วยงาน)
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ |
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ% |
:๗.๔.๑.๓ กรุงเทพมหานครสามารถรักษาวินัยทางการเงินการคลังทั้งในระยะสั้นและ |