ค่าเป้าหมาย คลอง : 1
ผลงานที่ทำได้ คลอง : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
คณะทำงานออกสำรวจคลองภาษีเจริญ เพื่อจัดทำแผนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
อยู่ระหว่างดำเนินการตามภารกิจของหน่วยงาน โดย สนน.กำหนดภารกิจของเขตไว้ 7 กิจกรรมการ (อยู่ระหว่างดำเนินการ), สนย. กำหนดหล้กเกณ์และแนวทางการดำเนินการ โดยให้สำนักงานเขตส่งโครงการตามขั้นตอนที่ 2 ของตัวชี้วัด โดยมีกำหนดให้ส่งภายในวันที่ 31 มี.ค.65 (ดำเนินการแล้ว) ขั้นตอนที่ 3 เขตดำนินการออกแบบและจัดทำ แบบรูป รายการตามหลักอารยสถาปัตย์ ส่งให้ สนย. ภายในวันที่ 15 ก.ค.65 (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
อยู่ระหว่างดำเนินการตามภารกิจของหน่วยงาน โดย สนน.กำหนดภารกิจของเขตไว้ 7 กิจกรรมการ (อยู่ระหว่างดำเนินการ) ซึ่งจะต้องมีการรายงานผลการรักษาสภาพคลอง และการติดตั้งตะแกรง/แพลูกบวยดักขยะ (รายงานทุกวันที่ 20 ของทุกเดือน) สนย. กำหนดหล้กเกณ์และแนวทางการดำเนินการ โดยให้สำนักงานเขตส่งโครงการตามขั้นตอนที่ 2 ของตัวชี้วัด โดยมีกำหนดให้ส่งภายในวันที่ 31 มี.ค.65 (ดำเนินการแล้ว) ขั้นตอนที่ 3 เขตดำนินการออกแบบและจัดทำ แบบรูป รายการตามหลักอารยสถาปัตย์ ส่งให้ สนย. ภายในวันที่ 15 ก.ค.65 (ส่งแล้ววันที่ 29 เมษายน 2565) สจส. ให้สนข.สำรวจแผนการดำเนินงานด้านการติดตั้งและบำรุงรักษาป้ายชื่อคลองและป้ายแนะนำเส้นทาง (มี 3 ระดับความสำเร็จ) ส่งหนังสือให้ สจส. เลขที่ กท 6103/3603 ลว. 17 มิ.ย.65
ดำเนินการตามโครงการครบถ้วนเสร็จสิ้น
สำนักงานเขต จัดทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ส่งสำนักการระบายน้ำ ประกอบด้วย 1. รักษาสภาพโดยการตรวจสอบและบำรุงรักษาอุปกรณ์ในความรับผิดชอบบริเวณสถานที่พักผ่อนริมคลอง จุดชมวิว ทิวทัศน์/จุดเช็คอิน (Check in) ป้ายอำนวยความสะดวก ป้ายประดับต่าง ๆ สะพานข้ามคลอง ไฟฟ้าส่องสว่างและรวมกันตกริมคลอง ให้อยู่สภาพพร้อมใช้งาน 2. คัดเลือกพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสร้างอัตลักษณ์ให้โดดเด่น โดยการตกแต่งประดับสิ่งที่บ่งบอกถึงความเป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่บริเวณที่สาธารณะริมคลอง สะพานข้ามคลอง หรือพัฒนาในรูปแบบของ Tactical Urbanism 3. กำหนดแผนการบริหารจัดเก็บขยะอย่างเป็นระบบในพื้นที่ตามแนวคลองเพื่อไม่ให้ประชาชนทิ้งขยะลงคลอง เช่น การกำหนดจุดทิ้งขยะ นัดทิ้ง-นัดเก็บขยะชิ้นใหญ่ และการเก็บขนขยะ 4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอย การเพิ่มมูลค่าและการจัดการขยะมูลฝอย การจัดการน้ำเสียและการเตรียมการจัดเก็บค่าบริการบำบัดน้ำเสียให้กับประชาชนและสถานประกอบการ เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ถึงความสำคัญและให้เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำเสีย 5. จัดทำตระแกรงดักขยะบริเวณคลองสาขาที่เกี่ยวข้อง (คลองในความริบผิดชอบของสำนักงานเขต) เพื่อลดปริมาณขยะในคลอง 6. ให้การสนับสนุนงานภาพรวมในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. แผนการปรับภูมิทัศน์คลองของกรุงเทพมหานคร 2. แผนการปฏิบัติการปรับภูมิทัศน์คลองของแต่ละหน่วยงาน 3.รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม 4. รายงานผลการดำเนินงานปรับภูมิทัศน์คลองของกรุงเทพมหานคร 5.ผลสรุปคะแนนรายด้านและคะแนนภาพรวม 6. รายละเอียดและข้อเสนอการพัฒนาเพิ่มเติมของแต่ละหน่วยงานจากกรณีปัญหาที่ตรวจพบในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ |
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ% |
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ |