ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 95
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
เร่งรัดและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณหลังการปรับโอน 459,614,540.00 บาท รายจ่ายตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นเงิน 62,367,652.47 บาท งบประมาณคงเหลือ 397,246,887.53 บาท ความก้าวหน้า % การเบิกจ่ายทั้งสิ้น 13.57 %
เร่งรัดและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณหลังการปรับโอน 456,666,356.00 บาท รายจ่ายตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นเงิน 163,962,107.56 บาท งบประมาณคงเหลือ 292,704,248.44 บาท ความก้าวหน้า % การเบิกจ่ายทั้งสิ้น 35.90 %
เร่งรัดและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณหลังการปรับโอน 455,666,356.00 บาท รายจ่ายตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นเงิน 299,990,788.45 บาท งบประมาณคงเหลือ 155,675,567.55 บาท ความก้าวหน้า % การเบิกจ่ายทั้งสิ้น 65.84 %
เร่งรัดและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณหลังการปรับโอน 417,836,951.00 บาท รายจ่ายตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นเงิน 398,398,255.96 บาท งบประมาณคงเหลือ 19,438,695.04 บาท ความก้าวหน้า % การเบิกจ่ายทั้งสิ้น 95.35 %
1. เพื่อเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ 5 หมวดรายจ่าย (หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดมรร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. เพื่อให้การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
จำนวนงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566 ÷ งบประมาณรายจ่ายประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2566 x 100 = ก% *นำร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมที่ได้(ก%) มาเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน
รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณ (แบบ ง 401)
:ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร |
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ |
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถรักษาวินัยทางการเงินการคลังทั้งในระยะสั้นและระยะยาว% |
:๗.๔.๑.๕ พัฒนาประสิทธิภาพของการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้าง |