รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล : 5023-0797

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
40.00
100
100 / 100
3
80.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดส่งรายชื่อเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อเข้ารับการอบรมหลักเกณฑ์ แนวทางจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล นำภารกิจหลักมาจัดลำดับความสำคัญและพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลัก - ส่งแผนพัฒนาฐานข้อมูลให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลแล้ว รอแจ้งผลการตรวจสอบข้อมูลในการจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานตามภารกิจ ตามแผนพัฒนาฐานข้อมูลเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักเขตบางขุนเทียนดำเนินตามขั้นตอนของตัวชี้วัดดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนสถานะข้อมูลเป็นการพัฒนาเป็นฐานข้อมูลแล้ว ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลตามภารกิจหลักมาจัดลำดับความสำคัญและพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลัก ขั้นตอนที่ 3 จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลตามรูปแบบที่กำหนดให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ขั้นตอนที่ 4 พัฒนาฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนดแล้ว วันที่ 29 พฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 นำเข้าข้อมูลครั้งแรกแล้วเสร็จภายในวันที่ 15 มิถุนายน 2563 และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล หมายถึง การจัดการฐานข้อมูล (Database) โดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูลตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

แนวทางการประเมินผล 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. หน่วยงานทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่มีอยู่ ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร 2. นำข้อมูลตามขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลตามภารกิจหลักมาจัดลำดับ คัดเลือกพัฒนาเป็นฐานข้อมูล 1 ฐานข้อมูล 3. เมื่อผ่านการพิจารณาจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานต้องจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลภายในเดือนมกราคม 2563 มีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้ 3.1 รายละเอียดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ 3.2 แหล่งข้อมูลในการจัดเก็บรวบรวม 3.3 ออกแบบจัดเก็บข้อมูล 3.4 ผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล 3.5 เครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล 3.6 ปฏิทินการดำเนินงานตามระยะเวลาที่กำหนด 4. พัฒนาฐานข้อมูล ซึ่งเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 5. นำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูล ครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

คะแนนรวมขั้นตอนที่ 1 ถึง 5

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์%
:๗.๕.๑.๒ มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง