ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 3
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2564 ในภาพรวม 15,029,818.31 บาท เทียบกับงบประมาณหลังปรับโอน 300,791,945 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.00 แบ่งเป็น หมวดค่าตอบแทนฯ คิดเป็น ร้อยละ 9.19 หมวดค่าสาธารณูปโภค คิดเป็น ร้อยละ 24.46 หมวดรายจ่ายอื่น คิดเป็น ร้อยละ 6.85 งบกลาง คิดเป็นร้อยละ 3.17
เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2564 ในภาพรวม 50,174,136.04 บาท เทียบกับงบประมาณหลังปรับโอน 305,467,812 บาท คิดเป็นร้อยละ 16.43 แบ่งเป็น หมวดค่าตอบแทนฯ คิดเป็น ร้อยละ 25.24 หมวดค่าสาธารณูปโภค คิดเป็น ร้อยละ 47 หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ค่าครุภัณฑ์ ร้อยละ 17.76 หมวดเงินอุดหนุน ร้อยละ 10.75 หมวดรายจ่ายอื่น คิดเป็น ร้อยละ 18.38 และงบกลาง คิดเป็นร้อยละ 39.55
เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2564 ในภาพรวม 107,791,961.14 บาท เทียบกับงบประมาณหลังปรับโอน 305,878,902 บาท คิดเป็นร้อยละ 35.24 แบ่งเป็น หมวดค่าตอบแทนฯ คิดเป็น ร้อยละ 49.59 หมวดค่าสาธารณูปโภค คิดเป็น ร้อยละ 71.62 หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ค่าครุภัณฑ์ ร้อยละ 97.98 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ร้อยละ 10.94 หมวดเงินอุดหนุน ร้อยละ 28.53 หมวดรายจ่ายอื่น คิดเป็น ร้อยละ 30.75 และงบกลาง คิดเป็นร้อยละ 57.36
เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2564 ในภาพรวม 209,669,710.62 บาท เทียบกับงบประมาณหลังปรับโอน289,174,398 บาท คิดเป็นร้อยละ 72.51 แบ่งเป็น หมวดค่าตอบแทนฯ คิดเป็น ร้อยละ 80.97 หมวดค่าสาธารณูปโภค คิดเป็น ร้อยละ 78.09 หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ค่าครุภัณฑ์ ร้อยละ 100 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ร้อยละ 78.13 หมวดเงินอุดหนุน ร้อยละ 58.83 หมวดรายจ่ายอื่น คิดเป็น ร้อยละ 64.67 และงบกลาง คิดเป็นร้อยละ 77.68
1. ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม หมายถึง หน่วยงานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น รวมทั้งงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 (ไม่รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบกลาง รายการ เงินช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้างงบกลาง รายการเงินบำเหน็จลูกจ้าง งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กันไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 2. จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม หมายถึง ผลรวมของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 รวม 5 หมวดรายจ่าย 3. งบประจำปีหลังปรับโอน หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 รวม 5 หมวดรายจ่าย 4. โครงการขนาดใหญ่ หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาดำเนินการมากกว่า 1 ปีและมีวงเงินโครงการ 200 ล้านบาทขึ้นไป โดยค่าเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปีของกลุ่มหน่วยงาน D (สำนักงานเขต) มีค่าเฉลี่ย 91.36
จำนวนเงินงบประจำปีที่เบิกจ่ายจริงสะสม ณ สิ้นเดือนกันยายน 2564 X 100 หารด้วย งบประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือน เมื่อได้ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม นำมาเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน
ข้อมูลการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร หากระบบฯ ขัดข้องไม่สามารถเข้าตรวจสอบข้อมูลได้ ให้หน่วยงานผู้รับการประเมินจัดเตรียมเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายงบประมาณไว้ที่หน่วยงานพร้อมให้ผู้ประเมินผลตรวจสอบหรือขอข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อประกอบการประเมินผล
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ |
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ% |
:๗.๔.๑.๒ นำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานมาใช้ภายในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ |