รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

มิติที่ 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล : 5025-0917

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
80.00
0
0 / 0
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานเขต และอยู่ระหว่างรอแนวทางการดำเนินการจากสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ได้จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- นำเข้าข้อมูลในระบบที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนดแล้ว - ปรับปรุงข้อมุลในแต่ละเดือนให้เป็นปัจจุบัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- นำเข้าข้อมูลในระบบที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนดแล้ว - ปรับปรุงข้อมุลในแต่ละเดือนให้เป็นปัจจุบัน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1.การเสริมสร้างธรรมาภิบาลหรือการกำกับดูแลที่ดีในองค์กร (Good Corporate Governance) เป็นแนวคิดของการบริหารจัดการองค์กรที่ต้องคำนึงถึงความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ทุกกลุ่มที่ เกี่ยวข้องอย่างสมดุล ซึ่งมีความหลากหลายแต่ล้วนต้องการความสำเร็จ ดังนั้น องค์กรจึงนำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการที่จะช่วยส่งเสริมหรือสนับสนุนให้การปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ขององค์กรบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตลอดจนเสริมสร้างธรรมาภิบาลหรือการกำกับดูแลที่ดีในองค์กร ซึ่งจะทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีจากมุมมองของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่าง ๆ ดังกล่าว 2.กรณีทุจริตหรือประพฤติมิชอบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในองค์กรมีผลกระทบต่อภาพลักษณ์ที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ รับรู้ ดังนั้น นอกจากองค์กรจะบริหารความเสี่ยงของงานด้านต่าง ๆ ที่อาจจะส่งผลกระทบต่อความสำเร็จประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานแล้ว องค์กรควรคำนึงถึงความเสี่ยงด้านการทุจริตในกรณีต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในองค์กรด้วย เพื่อให้เกิดธรรมาภิบาลหรือการกำกับดูแลที่ดีในองค์กร 3.การบริหารความเสี่ยงด้านการทุจริต หมายถึง กระบวนการที่เป็นระบบในการค้นหา ระบุ วิเคราะห์หรือประเมิน จัดลำดับ จัดการ และติดตามความเสี่ยงด้านการทุจริต เพื่อให้การปฏิบัติงานขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่กำหนด โดยมีกรณีทุจริตต่าง ๆ เกิดน้อยที่สุดหรืออยู่ในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ 4.คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับกรุงเทพมหานคร และสำนักงานตรวจสอบภายใน ได้จัดทำทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีความเสี่ยงด้านการทุจริตเป็นความเสี่ยงสำคัญด้านหนึ่ง ในทะเบียนความเสี่ยง 5.สำนักงานเขต ให้พิจารณาความเสี่ยงด้านการทุจริต จำนวน 3 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายโยธา ฝ่ายเทศกิจ และฝ่ายที่เขตพิจารณาว่ามีความเสี่ยงด้านการทุจริตอีก 1 ฝ่าย ฝ่ายละ 1 หัวข้อ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่1 หน่วยงานสามารถค้น ระบุ วิเคราะห์หรือประเมิน จัดลำดับ ระบุกิจกรรมและจัดทำแผนบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการทุจริตได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์และสามารถดำเนินการตามแผน ฯ อย่างเป็นรูปธรรมและบรรลุผลสำเร็จ (ร้อยละ 60) ส่วนที่ 2 การประเมินจากตัวชี้วัดผลสำเร็จของการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการทุจริตที่หน่วยงานกำหนดและผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการพิจารณาแผนการบริหารความเสี่ยงด้านการทุจริตของ หน่วยงานหรือคณะทำงานที่คณะกรรมการฯมอบหมายเรียบร้อยแล้ว (ร้อยละ 40) ส่วนที่ 3 การประเมินผลลัพธ์/ผลสัมฤทธิ์ของการบริหารความเสี่ยงด้านการทุจริตของหน่วยงาน โดยหากพบว่าหน่วยงานมีเรื่องร้องเรียนหรือกรณีที่เกี่ยวข้องกับทุจริต ตามหัวข้อทุจริตที่หน่วยงานได้จัดทำและดำเนินการ ตามแผนฯ จะถูกหักคะแนนร้อยละ 10 จากคะแนนรวมของตัวชี้วัด 4.1

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-----

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล
:๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ%
:๗.๒.๑.๒ หน่วยงานมีแผนยุทธศาสตร์สอดคล้องกับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง