รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารและตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน : 5027-0831

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
45.00
100
100 / 100
3
75.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักผังเมือง ประจำเดือนตุลาคม 2562 จำนวน 26 เลขหมาย 2.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักผังเมือง ประจำเดือนพฤศจิกายน 2562 จำนวน 34 เลขหมาย 3.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักผังเมือง ประจำเดือนธันวาคม 2562 จำนวน 40 เลขหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักผังเมือง ประจำเดือนมกราคม 2563 จำนวน 29 เลขหมาย 2.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักผังเมือง ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563 จำนวน 19 เลขหมาย 3.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักผังเมือง ประจำเดือนมีนาคม 2563 จำนวน 39 เลขหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ประจำเดือนเมษายน 2563 จำนวน 8 เลขหมาย 2.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ประจำเดือนพฤษภาคม 2563 จำนวน 31 เลขหมาย 3.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ประจำเดือนมิถุนายน 2563 จำนวน 19 เลขหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ประจำเดือนกรกฎาคม 2563 จำนวน 16 เลขหมาย 2.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ประจำเดือนสิงหาคม 2563 จำนวน 30 เลขหมาย 3.การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในโปรแกรมสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ประจำเดือนกันยายน 2563 จำนวน 27 เลขหมาย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1.ตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างอาคารตามแบบอนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรื้อถอนอาคารระบุไว้ในคำร้องขอ และได้รับการอนุญาตให้มีการก่อสร้างตามคำร้องขอ 2. การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้าง หมายถึง การลงจุดแสดงตำแหน่งที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามระบบการรายงานผลการอนุญาตก่อสร้างอาคารของสำนักผังเมือง ทั้งปี 2563 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 3. ตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง ตำแหน่งผู้ยื่นคำร้องขอเลขรหัสประจำบ้าน และได้รับการกำหนดเลขหมายประจำบ้าน/เลขรหัสประจำบ้านตามคำร้อง 4. การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน หมายถึง จุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านตามระบบการรายงานผลการออกเลขรหัสประจำบ้านของสำนักผังเมือง (ตามแบบ ทร. 900) ทั้งปี 2563 และปีย้อนหลังจนข้อมูลเป็นปัจจุบัน 5. ระบบการรายงานผล หมายถึง ระบบการรายงานผลการลงจุดแสดงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งการแสดงอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน ซึ่งพัฒนาโดยสำนักผังเมืองและสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ผลรวมของจุดที่ลงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคารกับ จุดที่ลงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน คูณด้วย 100 หารด้วยผลรวมของจำนวนการอนุญาตก่อสร้างอาคาร กับจำนวนอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านทั้งหมด เกณฑ์การให้คะแนน - ร้อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๕ คะแนน - ร้อยละ ๙๐–๙๙ เท่ากับ ๔ คะแนน - ร้อยละ ๘๐-๘๙ เท่ากับ ๓ คะแนน - ร้อยละ ๗๐-๗๙ เท่ากับ ๒ คะแนน - ต่ำกว่าร้อยละ ๗๐ เท่ากับ ๑ คะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City
:๔.๑ - กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม
:๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ%
:๔.๑.๑.๑ ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมือง

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง