ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 88.44
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ดำเนินการเตรียมความพร้อมในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ของสำนักงานเขต
อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก และรวบรวมข้อมูลเปิดเผยสาธารณะ
ดำเนินการเก็บข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก และรวบรวมข้อมูลเปิดเผยสาธารณะแล้วเสร็จ
- ผลคะแนน IIT (แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน) = 26.53 - ผลคะแนน EIT (แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก) = 24.16 - ผลคะแนน OIT (แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ) = 37.75 รวม 88.44 ผ่าน
การประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ( Integrity and Transparency Assessment : ITA) เป็นเครื่องมือในเชิงบวกที่มุ่งพัฒนาระบบราชการไทยในเชิงสร้างสรรค์มากกว่ามุ่งจับผิดเพื่อให้หน่วยงานภาครัฐได้รับทราบถึงสถานะและปัญหาการดำเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใสขององค์กรเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การให้บริการ สามารถอำนวยความสะดวกและตอบสนองต่อประชาชนได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้กำหนดให้การประเมิน ITA เป็นตัวชี้วัด โดยกำหนดให้ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 จะต้องได้คะแนน 85 คะแนนขึ้นไป
คำนวณจากผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ของ สำนักงาน ป.ป.ช.
เอกสารประกอบการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล |
:๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล% |
:๗.๓.๑.๓ ส่งเสริมด้านคุณธรรมความโปร่งใสในการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลและส่งเสริมให้กรุงเทพมหานครมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น |