รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จในการดำเนินการส่งเสริมการลดและ คัดแยกขยะตามประเภทแหล่งกำเนิด : 5028-2033

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

0 / 0
2
50.00

0 / 0
3
75.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการรณรงค์สร้างความร่วมมือคัดแยกขยะก่อนทิ้งและ การส่งเสริมการลดดการเกิดขยะ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการรณรงค์สร้างความร่วมมือคัดแยกขยะก่อนทิ้งและ การส่งเสริมการลดดการเกิดขยะ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการรณรงค์สร้างความร่วมมือคัดแยกขยะก่อนทิ้งและ การส่งเสริมการลดดการเกิดขยะตามที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด และรายงานผลการดำเนินการตามที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการรณรงค์สร้างความร่วมมือคัดแยกขยะก่อนทิ้งและการส่งเสริมการลดการเกิดขยะ ส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิดเกิน 60 แห่งขึ้นไป โดยสำนักงานเขตบึงกุ่ม ดำเนินการส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะที่แหล่งกำเนิดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เป้าหมายรวม 144 แห่ง ดำเนินการแล้ว รวม 156 แห่ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. การดำเนินการลดและคัดแยกขยะ หมายถึง การรณรงค์สร้าง ความร่วมมือในกลุ่มเป้าหมาย โดยการนำแนวคิดการแยกขยะ ด้วยการส่งเสริมสมาชิกชุมชน/องค์กร เพื่อให้เกิดกระบวนการ ลดและคัดแยกขยะเพื่อนำมาหมุนเวียนใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น 2. ประเภทแหล่งกำเนิด แบ่งเป็น 7 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) สถานศึกษา 2) อาคาร 3) ชุมชน 4) งานกิจกรรม/เทศกาล 5) ตลาด 6) ศาสนสถาน และ 7) อื่นๆ สำนักงานเขต 1. ดำเนินการรณรงค์สร้างความร่วมมือคัดแยกขยะก่อนทิ้งด้วย การส่งเสริมสมาชิกชุมชน/องค์กรร่วมกันลดการเกิดขยะ ดังนี้ 1) ส่งเสริมการลด ละ เลิกการใช้พลาสติกหรือบรรจุภัณฑ์ ประเภทใช้ครั้งเดียวทิ้ง Reduce (ใช้น้อย) 2) ส่งเสริมการใช้ภาชนะที่ใช้ซ้ำได้ การบริโภคสินค้าคืนขวด หรือบรรจุภัณฑ์ Reuse (ใช้ซ้ำ) 3) คัดแยกขยะก่อนทิ้งเป็น 4 ประเภท แบ่งเป็นสองส่วน ส่วนที่ 1 แยกแล้วนำไปใช้ประโยชน์เอง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) วัสดุรีไซเคิล โดยการขายหรือบริจาค (2) ขยะเศษอาหาร นำมาทำปุ๋ยหมัก และน้ำหมัก ชีวภาพ และแยกน้ำมันพืชใช้แล้วขาย ส่วนที่ 2 แยกเพื่อส่งกำจัด 4 ประเภท ได้แก่ ขยะอันตราย ขยะเศษอาหาร ขยะทั่วไป ขยะชิ้นใหญ่

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

นับจำนวนองค์กรหรือชุมชนที่ร่วมดำเนินการลดและคัดแยกขยะ ตาม 6 กลุ่มประเภทแหล่งกำเนิด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. แบบรายงานผลการดำเนินการ 2. สรุปผลการดำเนินการ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
:๒.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยตั้ง%
:๒.๑.๓.๑ การจัดการมูลฝอยต้นทางอย่างมีประสิทธิภาพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง