รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

บ.1.ร้อยละของจุดเสี่ยงภัยได้รับการเฝ้าระวังและตรวจตรา : 5029-0753

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
75.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กิจกรรมตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) -เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) 3 ครั้ง/วัน/จุด/ รวม 276 ครั้ง/จุด กิจกรรมตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ กล้องวงจรปิด (CCTV) -เจ้าหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ กล้องวงจรปิด (CCTV) ตามบัญชีราชื่อติดตั้ง กล้อง 2 ครั้ง/วัน/จุด รวม 184 ครั้ง/จุด กิจกรรมปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย -เจ้าหน้าที่ดำเนินการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน และอยู่ระหว่างดำเนินการวัดระดับความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กิจกรรมตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) -เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) 3 ครั้ง/วัน/จุด/ รวม 270 ครั้ง/จุด กิจกรรมตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ กล้องวงจรปิด (CCTV) -เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ ประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ตามบัญชีราชื่อติดตั้งกล้อง 2 ครั้ง/วัน/จุด รวม 180 ครั้ง/จุด กิจกรรมปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย -เจ้าหน้าที่ดำเนินการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน และอยู่ระหว่างดำเนินการวัดระดับความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

กิจกรรมตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) 1.จำนวนครั้งของการตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด :เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) 3 ครั้ง/วัน/จุด/ รวม 273 ครั้ง/จุด 2.ประชาชนมีความพึงพอใจ ในระดับมาก ต่อการตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม ร้อยละ 100 กิจกรรมตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ กล้องวงจรปิด (CCTV) 1.เจ้าหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ กล้องวงจรปิด (CCTV) ตามบัญชีรายชื่อติดตั้งกล้อง อย่างน้อย 1 ครั้ง/วัน/จุด :เจ้าหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ กล้องวงจรปิด (CCTV) 2 ครั้ง/วัน/จุด/ รวม 182 ครั้ง/จุด 2.ประชาชนมีความพึงพอใจ ในระดับมากต่อกิจกรรม ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ กล้องวงจรปิด (CCTV) ร้อยละ 100 กิจกรรมปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย 1.เจ้าหน้าที่ดำเนินการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน 2.ประชาชนมีความพึงพอใจ ในระดับมากต่อกิจกรรม ปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร้อยละ 100 กิจกรรมตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) 1.จำนวนครั้งของการตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด :เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) 3 ครั้ง/วัน/จุด/ รวม 273 ครั้ง/จุด 2.ประชาชนมีความพึงพอใจ ในระดับมาก ต่อการตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม ร้อยละ 100 กิจกรรมตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ กล้องวงจรปิด (CCTV) 1.เจ้าหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ กล้องวงจรปิด (CCTV) ตามบัญชีรายชื่อติดตั้งกล้อง อย่างน้อย 1 ครั้ง/วัน/จุด :เจ้าหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ กล้องวงจรปิด (CCTV) 2 ครั้ง/วัน/จุด/ รวม 182 ครั้ง/จุด 2.ประชาชนมีความพึงพอใจ ในระดับมากต่อกิจกรรม ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของ กล้องวงจรปิด (CCTV) ร้อยละ 100 กิจกรรมปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย 1.เจ้าหน้าที่ดำเนินการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน 2.ประชาชนมีความพึงพอใจ ในระดับมากต่อกิจกรรม ปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงภัย ร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

จุดเสี่ยงภัย หมายถึงจุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อ ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจ และสำนักงานเขต มีการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อม ด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรมทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนนเช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด 1. สำนักเทศกิจ มีข้อมูลจุดเสี่ยงภัยของสำนักงานเขต จำนวน 1 ชุด 2. สำนักงานเขต มีการจัดทำแผนเฝ้าระวังและตรวจตรา จุดเสี่ยงภัย ดังนี้ 2.1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด(ฝ่ายเทศกิจ) 2.2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 1 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข(ฝ่ายเทศกิจ) 2.3 จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วย การดูแลตัดต้นไม้ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ (ฝ่ายเทศกิจ ฝ่ายรักษาฯ ฝ่ายโยธา) 2.4ปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกด้านการจราจร ตามโครงการอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด (ฝ่ายเทศกิจ) 3. สำนักงานเทศกิจ มีการจัดทำแผนเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย 3.1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 1 ครั้ง/เดือน/จุด 3.2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงาน 1 ครั้ง/เดือน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข 3.3 ปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกด้านการจราจร ตามโครงการอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร 2 ครั้ง/วัน/จุด 3.4ท่าเทียบเรือ (ตั้งแต่สะพานซังฮี้ – สะพานกรุงเทพ) มีการตรวจตราความปลอดภัย จำนวน 2 ครั้ง/วัน- 4. สำนักเทศกิจ และสำนักงานเขต ดำเนินการตามแผนการเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย พร้อมรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารหน่วยงานทราบเป็นประจำทุกเดือน 5. สำนักเทศกิจ ติดตามผลการดำเนินงานตามแผน การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยของทุกสำนักงานเขต และสรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมรายไตรมาส ให้ผู้บริหารกรุงเทพมหานครทราบ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนจุดเสี่ยงภัย (จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ)ทุกจุด ในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้รับการเฝ้าระวังและตรวจตรา

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ภาพถ่าย, เอกสารประกอบ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง