ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
กิจกรรมการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด CCTV 1 ครั้ง/เดือน =จำนวน 2 ครั้ง/เดือน กิจกรรมตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) =จำนวน 3 ครั้ง/วัน กิจกรรมการปฏิบัติงานอาสาจราจรตามแผนที่กำหนด =จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด กิจกรรมการจัดระเบียบการจอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์บนทางเท้าตามแผนที่กำหนด =จำนวน 18 ครั้ง/เดือน
กิจกรรมการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด CCTV 1 ครั้ง/เดือน =จำนวน 2 ครั้ง/เดือน กิจกรรมตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) =จำนวน 3 ครั้ง/วัน กิจกรรมการปฏิบัติงานอาสาจราจรตามแผนที่กำหนด =จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด กิจกรรมการจัดระเบียบการจอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์บนทางเท้าตามแผนที่กำหนด =จำนวน 18 ครั้ง/เดือน
กิจกรรมตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) =จำนวน 3 ครั้ง/วัน กิจกรรมการปฏิบัติงานอาสาจราจรตามแผนที่กำหนด =จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด กิจกรรมการจัดระเบียบการจอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์บนทางเท้าตามแผนที่กำหนด =จำนวน 18 ครั้ง/เดือน
กิจกรรมการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด CCTV 1 ครั้ง/เดือน =จำนวน 2 ครั้ง/เดือน กิจกรรมตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) =จำนวน 3 ครั้ง/วัน กิจกรรมการปฏิบัติงานอาสาจราจรตามแผนที่กำหนด =จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด กิจกรรมการจัดระเบียบการจอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์บนทางเท้าตามแผนที่กำหนด =จำนวน 18 ครั้ง/เดือน
จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยง ต่อการเกิดอาชญากรรม (รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนน และบนทางเท้า เช่น การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจร พาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ
วิธีการคำนวณ ความสำเร็จของการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยร่วมกับการเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย x 100 หาร ความสำเร็จของการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยร่วมกับการเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยตามแผน
การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด 1. สำนักเทศกิจ 1.1 ข้อมูลจุดเสี่ยงภัยของสำนักงานเขต จำนวน 1 ชุด 1.2 ออกแบบรายงานผลการดำเนินงาน 1.3 ให้คะแนนผลการดำเนินงานของสำนักงานเขต ตามข้อ 2 และข้อ 3 2. การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 40) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) ประสานฝ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังนี้ 2.1 การดูแลตัดต้นไม้ โดย ฝ่ายรักษาความสะอาด (7 คะแนน) 2.2 การติดตั้งไฟฟ้า โดย ฝ่ายโยธา (7 คะแนน) 2.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม โดย ฝ่ายเทศกิจ (7 คะแนน) 2.4 ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง โดย ฝ่ายรักษาความสะอาด (7 คะแนน) 2.5 รวบรวมผลการดำเนินงานแก้ไขจุดเสี่ยงภัย ตามข้อ 2.1 – 2.4 รายงานให้ผู้บริหารและสำนักเทศกิจทราบ (12 คะแนน) 3. การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 60) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) มีการจัดทำแผนเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย ดังนี้ 3.1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด (15 คะแนน) 3.2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 1 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข (15 คะแนน) 3.3 ปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกด้านการจราจรตามโครงการอาสาพาน้องข้ามถนนและอาสาจราจร จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด (15 คะแนน) 3.4 ปฏิบัติหน้าที่กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้าไม่มีคดีอุบัติเหตุบนทางเท้า ร้อยละ 100 (15 คะแนน)
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๓ - ปลอดอุบัติเหตุ |
:๑.๓.๑ ลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร% |
:๑.๓.๑.๑ ปรับปรุงสภาพถนนและจุดเสี่ยงอันตราย |