ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
เสนออนุมัติโครงการ จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจเทศกิจตรวจตราพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม และตรวจประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด CCTV
ดำเนินการตามเงื่อนไขของตัวชี้วัดครบถ้วน ตามแบบรายงานที่หน่วยงานกำหนด รวมถึงมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ดำเนินการตามเงื่อนไขของตัวชี้วัดครบถ้วน ตามแบบรายงานที่หน่วยงานกำหนด รวมถึงมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง
- แผนปฏิบัติการลดเงื่อนความล่อแหลมในพื้นที่ จำนวน 7 จุด - แก้ไขในจุดเสี่ยง - ตัดต้นไม้ - ติดตั้ง/ปรับปรุงหลอดไฟ - ติดป้ายประชาสัมพันธ์ - ตรวจตรา กล้อง CCTV - เฝ้าระวังพื้นที่ล่อแหลมเป้าหมาย - รายงานผลตามแบบรายงานครบถ้วน
นิยาม/คำอธิบาย ค. พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรม กับประชาชนโดยพื้นที่เสี่ยงภัยที่เป็นเป้หมายในการดำเนินการใน ปิ้งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓นั้น ได้นำรายละเอียดพื้นที่เสี่ยงภัยและวิธีการ แก้ไขหรือลดปัจจัยเสี่ยงภัยมาจากบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของ กรุงเทพมหานครปี พ.ศ ๒๕๖๒ซึ่งเกิดจากการสำรวจและรวบรวมข้อมูล ของคณะทำงานโครงการสำรวจและจัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตราย ของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ . เงื่อนไข (ปัจจัย) ความอแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง เหตุ ช่องทางสิ่งต่างๆ ที่อาจทำให้เกิดเหตุอาชญากรรม หรือก่อเหตุการณ์ ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ได้ตามสภาพพื้นที่นั้น การลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง การปรับ แก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมพื้นที่เช่นการติดตั้งหรือซ่อมแชม ไฟฟ้าส่องสว่าง การดูแลตัดตันไม้การติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด (CCTV) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม
การทำคำนวน ๒. สำนักงานเขต ค่าเป้าหมาย ร้อยละ ๑๐๐ โดยแบ่งการให้คะแนน (ร้อยละ) ออกเป็น 3 ข้อ ได้แก่ ๒.๑ การดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน คะแนน (ร้อยละ) ๖๐ คะแนน คิดจาก y-ร้อยละของจำนวนรายการที่ได้ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่ เสี่ยงภัยสำเร็จ X= จำนวนรายการที่ได้ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัยสำเร็จ ก = จำนวนรายการที่ต้องดำเนินการปรับแก้ไขสภาพวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัยตามแผน ๒. สำนักงานเขต มีการจัดทำแผนการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อม และเฝ้าระวังและตรวจตรา พื้นที่เสี่ยงภัยตามเงื่อนไขการลดความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม ที่กรุงเทพมหานครกำหนดและดำเนินการตามแผนดังกล่าว ดังนี้ ๒.๑ การปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย ๒.๑.ด ฝ่ายรักษาความสะอาดมีการดำเนินการหรือประสาน หน่วยงานอื่นที่มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการดูแลตัดตันไม้ ทำความสะอาดพื้นที่ และดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ๒.๑.๒ ฝ่ายโยธามีการดำเนินการหรือประสานหน่วยงานอื่นที่มีี อำนาจหน้าที่ดำเนินการติดตั้งหรือซ่อมแชมไฟฟ้าส่องสว่าง ติดตั้งหรือซ่อมแชม กล้องวงจรปิด (C(V) และดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ๒.๑.ตฝ่ายเทศกิจมีการดำเนินการหรือประสานหน่วยงานอื่นที่มีี อำนาจหน้าที่ดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม และดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ๒.๒ การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย ๒.๒.๑ มีการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกเฝ้าระวังและตรวจตรา พื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนอย่างน้อย ๒ ครั้งจุด/วัน ๒๒.๒ มีการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจสอบประสิทธิภาพ การทำงานของกล้องวงจรปิด (CCV ในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน อย่างน้อย ๑ ครั้ง/จุด/วัน ๒.๓ มีการรวบรวมและสรุปผลการดำเนินการรายงานให้สำนักเทศกิจ ทราบเป็นรายเดือน
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |