ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
เดือน ตุลาคม - สำรวจข้อมูลเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ เดือน พฤศจิกายน - จัดทำแผนการตรวจเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - จัดทำแผนการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดทำแผนการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เดือน ธันวาคม - ตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - ลงพื้นที่ตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - จัดประชุมผู้ประกอบการตลาด - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารเดือนพฤศจิกายน จำนวน 2,300 บาท - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - สถานประกอบด้านอาหารทั้งหมด 495 แห่ง รับป้าย มอป.แล้ว 77 แห่ง
เดือน มกราคม 64 - ลงพื้นที่ตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - จัดทำฎีกาเบิกค่าดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารตามประกาศกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 16 เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - สุ่มตรวจเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในผู้ปฏิบัติงาน/ผู้ค้าในตลาด เดือน กุมภาพันธ์ - จัดทำฎีกาเบิกค่าดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือนมกราคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารตามประกาศกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 18 เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการด้านอาหาร - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาลช่วงเทศกาลตรุษจีน เดือน มีนาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าอาหารนอกเวลา - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - จัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา วันที่ 24 มีนาคม 2564 - จัดกิจกรรมเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดกิจกรรมพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐาน ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 478 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 283 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.20 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ)
เดือน เมษายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน เมษายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตอบแทนบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข - จัดทำฎีกาค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษาครั้งที่ 1/2564 - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาดร่วมกับรถโมบาย - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - สรุปผลการดำเนินงานการสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ เดือน พฤษภาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน พฤษภาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ร่วมกับกองสุขาภิบาลอาหาร - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ เดือน มิถุนายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน มิถุนายน - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - ลงพื้นที่ตรวจติดตามผลการปฏิบัติปรับปรุงตามมาตรการป้องกันโรควิด-19ในตลาดตามข้อเสนอแนะของสำนักอนามัย - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 477 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 370 ราย คิดเป็นร้อยละ 77.56 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ) - ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 77 - ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green service) ร้อยละ 13 - ผลการดำเนินการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งฯ ร้อยละ 100
เดือน กรกฎาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน กรกฎาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เดือน สิงหาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน สิงหาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 - ตรวจติดตามเฝ้าระวังคุณภาพอาหารร้านอาหารในพื้นที่เขตสาทร เดือน กันยายน - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 - สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ไตรมาสที่ 4 ให้สำนักอนามัยตามหนังสือที่ กท 6804/3845 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 469 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 469 ราย คิดเป็นร้อยละ 100.00 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ)
๑. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหารแผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ตและมินิมาร์ทในพื้นที่เขตสาทร ที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 2. เกณฑ์มาตฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครหมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านความปลอดภัยของอาหาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ดังนี้ ๒.๑ ด้านอาคารสถานที่ ต้องผ่านเกณฑ์สุขลักษณะสถานประกอบการอาหาร ๒.๒ ด้านความปลอดภัยของอาหาร ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัย ดังนี้ (๑) อาหารและวัตถุดิบสุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น(Test kit) ทางด้านเคมี อยู่ในเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนดดังนี้ - ต้องไม่พบการปนเปื้อนของสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลินสารฟอกขาว และสารกันรา - ต้องไม่พบสีสังเคราะห์ในอาหาร ที่ห้ามการใช้สี - ต้องไม่พบกรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู - ต้องไม่พบยาฆ่าแมลง สารไอโอเคทและสารโพลาในน้ำมันทอดอาหารเกินเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด (๒) ตรวจความสะอาดของอาหารพร้อมบริโภคภาชนะอุปกรณ์ มือผู้สัมผัสอาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียเบื้องต้น (S-๒) พบการปนเปื้อน ไม่เกินร้อยละ ๑๐กรณี พบการปนเปื้อนสารเคมีอันตรายหรือโคลิฟอร์มแบคที่เรีย ให้ออกคำสั่งเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือคำแนะนำให้ผู้ประกอบการอาหาร ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัยโดยสุ่มตรวจวิเคราะห์ซ้ำ ๒.๓ ด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเองตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานด และผ่านการทดสอบความรู้โดยได้รับหนังสือรับรองและบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร ๓. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมสนับสนุนให้สถานประกอบการอาหารสามารถพัฒนาเพื่อ ยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหารให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตสาทรคูณด้วย ๑๐๐หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขตสาทร
หลักฐานการได้รับป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยจากกรุงเทพมหานคร
:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |