ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
จัดทำคำสั่งที่ 380 /2564 คณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของสำนักงานเขตสาทร และ คำสั่งที่ 381/2564 แต่งตั้งคณะทำงานบริกรข้อมูลของสำนักงานเขตสาทร และเอกสารชุดข้อมูลสำคัญของสำนักงานเขตสาทร ตามหนังสือ กท 6801/6241 ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2564 เรื่อง การดำเนินการตามตัวชี้วัดที่ 5.2 ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลสำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน (One Platform) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล พร้อมทั้งส่งข้อมูลทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ตามอีเมล์ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้แจ้งเรียบร้อยแล้ว
ได้รับเอกสารในขั้นตอนที่2 และดำเนินการส่งเอกสารการดำเนินงานตัวชี้วัดขั้นตอนที่ 3 เลขที่หนังสือ กท 6801/1636 ลงวันที่ 30 มีนาคม 2565 ส่งเอกสารรายการคำอธิบายข้อมูลและพจนานุกรมข้อมูลพร้อมทั้งการทำความสะอาดข้อมูล(Data Cleansing) เรียบร้อยแล้ว
ดำเนินการนำข้อมูลเข้าตั้งแต่เดือนเมษายน 2565 และปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน
-ดำเนินการส่งหนังสือรวมถึงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กท 6801/4350 การดำเนินการตามตัวชี้วัดที่ 5.2 ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูล สำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน (One Platform) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามขั้นตอนที่ 5 เรียบร้อยแล้ว ตั้งแต่เดือนสิงหาคม พร้อมนี้ได้อัพเดทข้อมูลบน เว็ป one.bangkok.go.th/bma5.2 เรียบร้อยแล้ว (ตามขั้นตอนที่ 4)
แบบฟอร์มหรือแบบรายงานที่ใช้ปฏิบัติงานของหน่วยงาน หมายความว่า แบบฟอร์มหรือแบบรายงานตามภารกิจของหน่วยงานที่จะต้องนำข้อมูลส่งระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ เช่น หน่วยงานระตับสำนักให้สำนักงานเขตเป็นผู้รายงานข้อมูล ซึ่งอาจเป็น รายวัน รายอาทิตย์ รายเดือน หรือตามระยะเวลากำหนด ชุดข้อมูล (Dataset) หมายความว่า ข้อมูลที่มีการ รวบรวมไว้จากหลายแหล่ง และนำข้อมูลมาจัดเป็นชุดให้ตรงตามลักษณะโครงสร้างของข้อมูลที่กำหนดไว้หรือการใช้ประโยชน์ของข้อมูล ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันได้ถูกรวบรวมไว้ด้วยกันซึ่งสนับสนุนกิจกรรมหรือภารกิจของหน่วยงาน โดยแต่ละฐานข้อมูลจะประกอบไปด้วยหลาย ๆ ชุดข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน บัญชีรายการข้อมูล หมายความว่า เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จำแนกแยกแยะ โดยการจัดกลุ่มหรือจัตประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงาน คำอธิบายข้อมูลหรือเมทาดาตา (Metadata) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้อธิบายข้อมูล โดยระบุรายละเอียดแหล่งข้อมูล หรือคำอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ซึ่งจัดทำให้ผู้ใช้ข้อมูลทราบว่าข้อมูลมาจากแหล่งใดมีรูปแบบอย่างไร เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูล และใช้ประโยชน์ในการจัดทำบัญชีรายการข้อมูล พจนาบุกรมข้อมูล (Data Dictionary) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้อธิบายชุดข้อมูลอย่างละเอียด เป็นรายตัวแปร โดยมีส่วนที่บังคับต้องทำการอธิบายข้อมูลจำนวน 3 รายการ ได้แก่ ชื่อตัวแปรข้อมูล (Name) ชนิดของตัวแปรข้อมูล (Data Type) และคำอธิบายตัวแปรข้อมูล (Description) [นอกจากนี้หากมีรายการ บ่งบอกว่าข้อมูลไม่สามารถเป็นค่าว่างไต้หรือไม่ (Required) ให้ระบุรายละเอียดให้ชัดเจน พร้อมทั้งแสดง ข้อมูลจริงจากหนึ่งตัวอย่างข้อมูล (Example) จำนวน 5 รายการข้อมูล] ความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูล หมายถึง การพัฒนาและการสร้างชุตข้อมูล สำหรับบูรณาการภารกิจของหน่วยงาน โดยทุกหน่วยงานจะต้องสำรวจข้อมูลตามแบบฟอร์มหรือแบบรายงานที่ใช้ ในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน เพื่อมาจัตทำชุดข้อมูลที่เป็นภารกิจหลักมีเป้าหมายในการลดหรือปรับเปลี่ยน แบบฟอร์มหรือแบบรายงานให้มาใช้ผ่านระบบสารสนเทศ ซึ่งหน่วยงานจะดำเนินการจัตทำคำอธิบายข้อมูล และพจนานุกรมข้อมูลตามแนวทางธรรมาภิบาล ข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งนำเข้าข้อมูลและ ปรับปรุงข้อมูลข้อมูลให้มีคุณภาพเป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอตามรอบระยะเวลาที่หน่วยงานกำหนด คณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลระดับหน่วยงาน หมายถึง คณะทำงานที่ทำหน้าที่ตัดสินใจเชิงนโยบาย แก้ไขปัญหา และบริหารจัตการต้านข้อมูลของหน่วยงาน เพื่อจัดทำยุทธศาสตร์และดำเนินการกำกับดูแสข้อมูล ให้มีคุณภาพ โดยนำแนวทางปฏิบัติและมาตรฐานของธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานครไปตำเนินการ รวมถึงทบทวนและติตตามการตำเนินงานธรรมาภิบาลข้อมูลภายในหน่วยงาน ทีมบริการข้อมูลระดับหน่วยงาน หมายถึง คณะทำงานที่ทำหน้าที่ตำเนินการกำกับดูแล ติดตาม สนับสนุนให้เกิดธรรมาภิบาลข้อมูลที่ตีภายในหน่วยงาน และรายงานผลการตำเนินการธรรมาภิบาลข้อมูล รวมทั้งการให้ข้อมูลสนับสนุนในการตัดสินใจต่อคณะทำงานธรรมาภิบาลข้อมูลระตับหน่วยงาน นวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ และสังคม' นวัตกรรมการให้บริการ หมายถึง การสร้างบริการใหม่หรือการปรับปรุงแนวทาง/รูปแบบการบริการ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในคุณลักษณะของการให้บริการหรือการติตต่อกับประชาชน นวัตกรรมการบริหารจัดการ หมายถึง การสร้างสรรค์พัฒนาหรือการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ในระบบงานหรือกระบวนการทำงานเพื่อตอบสนองการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน หรือกระบวนการปฏิบัติต้านต่างๆ เช่น การเพิ่มคุณภาพ การลดเวลาการปฏิบัติงาน การลดต้นทุน เป็นต้น ผลงานนวัตกรรม หมายถึง การคิดสร้างสรรค์หรือการปรับปรุงหรือตัดแปลงให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ บริการใหม่ กระบวนการตำเนินงานใหม่หรือตัวแบบการตำเนินธุรกิจใหม่ โดยใช้ความรู้ ความศิตริเริ่มสร้างสรรค์ ทักษะและประสบกรณ์ทางเทคโนโลยี หรือการจัตการมาพัฒนา เพื่อให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน การบริหารจัตการ การให้บริการ และยกระตับศักยภาพการแข่งขันขององศ์กร รวมถึงก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อผู้ใช้บริการภายนอก อุตสาหกรรม/ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ประชาชน หรือสังคมในวงกว้าง
คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน้า 56-57
ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์และชุดข้อมูลที่หน่วยงานได้ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และ พ.ศ. 2564
:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |