รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จของ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) มีคะแนนไม่น้อยกว่า ระดับ AA (95.00 คะแนน) : 5030-1087

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

0 / 0
2
50.00

0 / 0
3
75.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของสำนักฃงานเขตบางคอแหลม ประกอบด้วยคณะผู้บริหารเขตบางคอแหลม ตัวแทนผู้รับผิดชอบในแต่ละฝ่าย และผู้บริหารพร้อมเจ้าหน้าที่ของโรงเรียนในสังกัด 2. ดำเนินการลงข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานเขตในระบบ BANGKOK-ITA 2023 3. จัดทำประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกเข้าร่วมทำแบบสอบถาม IIT และ ITA

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. บัญทึกข้อมูลคู่ค้าคู่สัญญาของสำนักงานเขตบางคอแหลมและโรงเรียนในสังกัด ในระบบ BANGKOK-ITA 2023 2. ดำเนินการเก็บข้อมูล IIT (ปัจจุบันยอดอยู่ที่ ร้อยละ 109.31) 3. ดำเนินการเก็บข้อมูล EIT (ปัจจุบันยอดอยู่ที่ ร้อยละ 104.60)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดทำและบัญทึกข้อมู OIT ทั้ง 30 หัวข้อการประเมิน - รับการประเมิน โดยผลคะแนน OIT สำนักงานเขตบางคอแหลม ได้ 100 คะแนนเต็ม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักงานเขตบางคอแหลมมีผลการดำเนินดังนี้ - ผลการประเมินIแบบวัดที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT) ได้ 97.64 คะแนน - ผลการประเมินIแบบวัดที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) ได้ 93.08 คะแนน - ผลคะแนนการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ(OIT) ได้ 100 คะนน คะแนน ITA ได้ 97.21 คะแนน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ( Integrity and Transparency Assessment : ITA) เป็นเครื่องมือในเชิงบวกที่มุ่งพัฒนาระบบราชการไทยในเชิงสร้างสรรค์มากกว่ามุ่งจับผิด เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐได้รับทราบถึงสถานะและปัญหาการดำเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใสขององค์กร เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การให้บริการ สามารถอำนวยความสะดวก และตอบสนองต่อประชาชนได้ดียิ่งขึ้น ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 - 2580) หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมิน : 51 หน่วยงาน ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร (ทุกหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร) และสำนักงานเขต 50 เขต ภารกิจของหน่วยงาน/ส่วนราชการฯ ที่เกี่ยวข้อง 1. สำนักงาน ก.ก. (หน่วยงานหลัก) 1.1 รับผิดชอบการประเมินในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยดำเนินการและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินจากทุกหน่วยงานและส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานคร และนำเข้าสู่ระบบการประเมิน (ITAS) ของสำนักงาน ป.ป.ช. 1.2 สนับสนุนการดำเนินการประเมินของสำนักงานเขต และให้คำปรึกษา แนะนำ และตอบคำถามเกี่ยวกับการประเมิน 2. สำนักงานเขต (หน่วยงานร่วม) รับผิดชอบการประเมินรายสำนักงานเขต โดยดำเนินการและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินจากทุกฝ่าย และโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขต และนำเข้าสู่ระบบการประเมิน (BANGKOKITA) ของสำนักงาน ป.ป.ช.

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ตรวจสอบผลการดำเนินงานเทียบร้อยละความสำเร็จ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

เอกสารประกอบการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล
:๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล%
:๗.๓.๑.๓ ส่งเสริมด้านคุณธรรมความโปร่งใสในการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลและส่งเสริมให้กรุงเทพมหานครมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง