รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ : 5033-2003

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00
100
100 / 100
2
40.00
0
0 / 0
3
80.00
0
0 / 0
4
100.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการในขั้นตอนที่ 1 ดำเนินการตามกรอบธรรมาภิบาลภาครัฐ ดังนี้ - แต่งตั้งคณะทำงานกำกับดูแลข้อมูลระดับหน่วยงาน - จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน - จัดทำบัญชีรายการข้อมูลของหน่วยงาน - เสนอปรับปรุงฐานข้อมูลที่มีอยู่เดิมให้มีขอบเขตการใช้ประโยชน์ได้กว้างขึ้น 2. จัดส่งผลการดำเนินงานให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลพิจารณาเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ดำเนินการในขั้นตอนที่ 1 การดำเนินการตามกรอบธรรมาภิบาลภาครัฐ ดังนี้ – แต่งตั้งคณะทำงานกำกับดูแลข้อมูลระดับหน่วยงาน – จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน – จัดทำบัญชีรายการข้อมูลของหน่วยงาน – เสนอปรับปรุงฐานข้อมูลที่มีอยู่เดิมให้มีขอบเขตการใช้ประโยชน์ได้กว้างขึ้น 2. จัดส่งผลการดำเนินงานให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลพิจารณาเรียบร้อยแล้ว ในวันที่ 29 ธันวาคม 2563 3. ดำเนินการจัดทำพจนานุกรมข้อมูล และจัดทำคำอธิบายข้อมูล โดยจัดทำตามแบบฟอร์มที่กำหนด และส่งผลการดำเนินงานให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลพิจารณาเรียบร้อยแล้ว ในวันที่ 31 มีนาคม 2564 4. ผลลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 40

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

การพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ เป้าหมาย ดำเนินการทั้งสิ้น 5 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 - แต่งตั้งคณะทำงานกำกับดูแลข้อมูลระดับหน่วยงาน - จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน - จัดทำบัญชีรายการข้อมูล - เสนอการพัฒนาฐานข้อมูลใหม่อีก 1 ชุดข้อมูล จากเดิม 22 เป็น 23 ชุดข้อมูล ในส่วนของสำนักงานเขตเสนอ ข้อมูลคุณภาพของผู้สูงอายุในชุมชนพื้นที่เขตปกครอง ขั้นตอนที่ 2 - จัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลดิจิทัล 23 ชุดข้อมูล - จัดทำพจนานุกรมข้อมูล 23 ชุดข้อมูล การดำเนินงาน 2 ขั้นตอนดังกล่าว ได้จัดส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ตามหนังสือเลขที่ กท 7201/1496 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2564 และอัพโหลดไฟล์ลงในระบบที่เกี่ยวข้องเรียบร้อยแล้ว ผลการดำเนินการคิดเป็นร้อยละ 40 ขั้นตอนที่ 3 - ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ในระบบ one.bangkok.go.th ขั้นตอนที่ 4 - นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน โดยมีหลักฐานเป็นที่ประจัก และดำเนินการส่งข้อมูลให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ตามหนังสือ สำนักงานเขตคลองเตย ที่ กท 7201/2688 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

การพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ เป้าหมาย ดำเนินการทั้งสิ้น 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 – สำนักงานเขตคลองเตยได้ดำเนินการในขั้นตอนที่ 1 เรียบร้อยแล้วและส่งผลการดำเนินงานให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ตามหนังสือสำนักงานเขตคลองเตย ที่ กท 7201/6105 ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2563 มีรายละเอียดดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะทำงานกำกับดูแลข้อมูลระดับหน่วยงาน และจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานกำกับดูแลข้อมูลระดับหน่วยงานของสำนักงานเขตคลองเตย และจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำบัญชีรายการข้อมูล สำนักงานเขตคลองดำเนินการจัดทำบัญชีข้อมูลเรียบร้อยแล้ว จำนวน 22 ชุดข้อมูล 3. กำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูลของหน่วยงาน สำนักงานเขตคลองเตยได้กำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูลหน่วยงานเรียบร้อยแล้ว จำนวน 22 ขุดข้อมูล – พัฒนาฐานข้อมูลใหม่ จำนวน 1 เรื่อง มาพัฒนาเป็นฐานข้อมูลของหน่วยงาน – สำนักงานเขตคลองเตย โดยคณะคณะทำงานฯ พิจารณาเสนอการพัฒนาฐานข้อมูลใหม่อีก 1 ชุดข้อมูล จากเดิม 22 เป็น 23 ชุดข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลคุณภาพของผู้สูงอายุในชุมชนพื้นที่เขตปกครอง ขั้นตอนที่ 2 – จัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลดิจิทัล 23 ชุดข้อมูล สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการจัดทำคำอธิบายชุดข้อมูลดิจิทัล เรียบร้อยแล้ว มีจำนวน 12 รายการ เช่น ซื่อตารางข้อมูล เจ้าของข้อมูล คำสำคัญ ผู้สนับสนุนหรือผู้ร่วมดำเนินการ เป็นต้น – จัดทำพจนานุกรมข้อมูล 23 ชุดข้อมูล สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการจัดทำพจนานุกรมข้อมูล เรียบร้อยแล้ว โดยระบุคำอธิบายเขตข้อมูล เช่น รหัสเขต ซื่อเขตภาษาไทย ชื่อเขตภาษาอังกฤษ พื้นที่เขต เป็นต้น – การดำเนินงาน 2 ขั้นตอนดังกล่าว ได้จัดส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ตามหนังสือเลขที่ กท 7201/1496 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2564 และอัพโหลดไฟล์ลงในระบบที่เกี่ยวข้องเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนที่ 3 – ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอเป็นประจำ สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการปรับปรุงข้อมูลจำนวน 6 ครั้ง ขั้นตอนที่ 4 – นำข้อมูลไปใช้ในการปฏิบัติงาน โดยได้นำฐานข้อมูลผู้สูงอายุในพื้นที่เขตคลองเตย ไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1. ใช้เป็นข้อมูลในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดสรรสวัสดิการต่างๆ เช่น เงินช่วยเหลือกรณีเร่งด่วนและจําเป็น เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ เงินค่าเครื่องอุปโภคบริโภค เป็นต้น 2. ใช้เป็นฐานข้อมูลเพื่อพิจารณาการแจกถุงยังชีพสำหรับผู้สูงอายุที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) ในพื้นที่เขตคลองเตย 3. ใช้เป็นฐานข้อมูลเพื่อพิจารณาเตรียมการฉีดวัคซีน โดยสำนักอนามัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด – 19 ให้กับผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้มีภาวะพึ่งพิง และผู้ดูแลใกล้ชิด ในพื้นที่เขตคลองเตย 4. นำส่งหลักฐานการดำเนินงานให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เรียบร้อยแล้ว ตามหนังสือ สำนักงานเขตคลองเตย ที่ กท 7201/2688 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2564 ขั้นตอนที่ 5 – ดำเนินการให้บริการหรือเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานของกรุงเทพมหานครด้วยระบบออนไลน์และมีการเผยแพร่ต่อสาธารณะเรียบร้อยแล้ว ทางเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลเปิดภาครัฐของกรุงเทพมหานคร http://data.bangkok.go.th/ และเว็บไซต์สำนักงานเขตคลองเตย http://www.bangkok.go.th/khlongtoei และส่งผลการดำเนินงานให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เรียบร้อยแล้ว ตามหนังสือสำนักงานเขตคลองเตย ที่ กท 7201/3376 ลงวันที่ 30 สิงหาคม 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การพัฒนาและการจัดการฐานข้อมูลโดยการนำเข้าข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว ทันสมัย และมีการแบ่งปันการใช้งานข้อมูล ตามแผนการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงานและเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และภาพรวมของกรุงเทพมหานคร โดยสอดคล้องกับมาตรฐานและกรอบ ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

แนวทางการประเมินผลพิจารณาการดำเนินงานของหน่วยงาน แบ่งเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 การรักษาสถานภาพฐานข้อมูลของหน่วยงานปี พ.ศ. 2563 คือ ความสมบูรณ์ของการนำเข้าข้อมูล และเชื่อมโยงระบบย่อยของหน่วยงาน 1. ความครบถ้วนและความถูกต้องในการนำเข้าข้อมูล 2. การนำเข้าข้อมูลในระบบภายในกำหนด ส่วนที่ 2 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

การบันทึกข้อมูลในระบบฐานข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ
:๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์%
:๗.๕.๑.๓ โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีประสิทธิภาพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง