ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1. ในส่วนของบุคคลภายใน ปปช. ได้กำหนด ขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 400 ราย โดยสำนักงานเขตคลองเตย ได้ทำแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT) สถานะ ครบตามจำนวนขั้นต่ำ ดังนี้ – ข้าราชการ รวม 139 ราย ตอบ 152 ราย คิดเป็น 109.35% – ลูกจ้าง รวม 541 ราย (ต้องไม่ต่ำกว่า 450 ราย) ตอบ 480 ราย คิดเป็น 106.89% – รวมทั้งหมด 680 ราย (ขั้นต่ำ 589 ราย) ตอบ 633 ราย คิดเป็น 107.47% 2. ในส่วนของบุคคลภายนอก ปปช. ได้กำหนด ขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 500 ราย ได้ทำแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (EIT) สถานะ ไม่ครบตามจำนวนขั้นต่ำ – จำนวนขั้นต่ำ 500 ราย จำนวนตอบแบบสอบถาม 398 ราย คิดเป็น 79.60% – (ตอบผ่านจุดประชาสัมพันธ์ 361 ราย, ผ่านเว็บไซต์ 32 ราย, ที่ปรึกษา 5 ราย) 3. ในส่วนของการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ OIT ทั้งหมด 30 ข้อ ข้อที่ได้ดำเนินการเรียบร้อยผ่านเว็บไซต์สำนักงานเขตคลองเตย ดังนี้ – O1 โครงสร้าง อัตรากำลัง ข้อมูลผู้บริหารสำนักงานเขต/โรงเรียน และข้อมูลผู้บริหาร กทม./สก.เขต – O2 อำนาจหน้าที่และพื้นที่การปกครองนโยบายผู้ว่า และแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปี – O4 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง – O6 ข้อมูลการติดต่อ Q&A และช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
1. ในส่วนของบุคคลภายใน ปปช. ได้กำหนด ขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 400 ราย โดยสำนักงานเขตคลองเตย ได้ทำแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT) สถานะ ครบตามจำนวนขั้นต่ำ ดังนี้ – ข้าราชการ รวม 169 ราย ตอบ 169 ราย คิดเป็น 100% – ลูกจ้าง รวม 454 ราย (ต้องไม่ต่ำกว่า 450 ราย) ตอบ 489 ราย คิดเป็น 107.71% – รวมทั้งหมด 658 ราย (ขั้นต่ำ 623 ราย) ตอบ 658 ราย คิดเป็น 105.62% 2. ในส่วนของบุคคลภายนอก ปปช. ได้กำหนด ขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 500 ราย ได้ทำแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (EIT) สถานะ ไม่ครบตามจำนวนขั้นต่ำ – จำนวนขั้นต่ำ 500 ราย จำนวนตอบแบบสอบถาม 557 ราย คิดเป็น 110.20% – (ตอบผ่านจุดประชาสัมพันธ์ 551 ราย, ที่ปรึกษา 6 ราย) 3. ในส่วนของการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ OIT ทั้งหมด 30 ข้อ สำนักงานเขตคลองเตยได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 30 ข้อ
1. ในส่วนของบุคคลภายใน ปปช. ได้กำหนด ขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 400 ราย โดยสำนักงานเขตคลองเตย ได้ทำแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT) สถานะ ครบตามจำนวนขั้นต่ำ ดังนี้ – ข้าราชการ รวม 169 ราย ตอบ 169 ราย คิดเป็น 100% – ลูกจ้าง รวม 454 ราย (ต้องไม่ต่ำกว่า 450 ราย) ตอบ 489 ราย คิดเป็น 107.71% – รวมทั้งหมด 658 ราย (ขั้นต่ำ 623 ราย) ตอบ 658 ราย คิดเป็น 105.62% 2. ในส่วนของบุคคลภายนอก ปปช. ได้กำหนด ขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 500 ราย ได้ทำแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (EIT) สถานะ ไม่ครบตามจำนวนขั้นต่ำ – จำนวนขั้นต่ำ 500 ราย จำนวนตอบแบบสอบถาม 557 ราย คิดเป็น 110.20% – (ตอบผ่านจุดประชาสัมพันธ์ 551 ราย, ที่ปรึกษา 6 ราย) 3. ในส่วนของการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ OIT ทั้งหมด 30 ข้อ สำนักงานเขตคลองเตยได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 30 ข้อ 4. ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ 94.70 คะแนน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 0.31 คะแนน ระดับผลการประเมิน ระดับผ่านดี
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ( Integrity and Transparency Assessment : ITA) เป็นเครื่องมือในเชิงบวกที่มุ่งพัฒนาระบบราชการ ไทยในเชิงสร้างสรรค์มากกว่ามุ่งจับผิดเพื่อให้หน่วยงานภาครัฐได้รับทราบถึงสถานะและปัญหาการดำเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใสขององค์กร เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การให้บริการสามารถ อำนวยความสะดวกและตอบสนองต่อประชาชนได้ ดียิ่งขึ้น ซึ่งแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้กำหนดให้การประเมิน ITA เป็นตัวชี้วัด โดยกำหนดให้ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 จะต้องได้ คะแนน 85 คะแนนขึ้นไป
วิธีคำนวณ คำนวณจากผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ของ สำนักงาน ป.ป.ช.
วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน เอกสารประกอบการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล |
:๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล% |
:๗.๓.๑.๓ ส่งเสริมด้านคุณธรรมความโปร่งใสในการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลและส่งเสริมให้กรุงเทพมหานครมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น |