ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 116.33
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
1. ปริมาณมูลฝอยรีไซเคิลที่คัดแยกที่แหล่งกำเนิดและนำกลับไปใช้ประโยชน์ (ตุลาคม 2565 – กุมภาพันธ์ 2566) จำนวน 13,523.34 ตัน 2. ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่คัดแยกที่แหล่งกำเนิดและนำกลับไปใช้ประโยชน์ (ตุลาคม 2565 – กุมภาพันธ์ 2566) จำนวน 2,309.50 ตัน 3. รวมจำนวน 15,832.84 ตัน
1. ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมให้ความรู้การคัดแยกขยะตามประเภทก่อนทิ้งให้กับ 16 กลุ่มเป้าหมาย ตั้งแต่เดือนมีนาคม – มิถุนายน 2566 ได้จำนวน 50 แห่ง ดังนี้ (1) ชุมชนตามระเบียบฯ จำนวน 16 แห่ง (2) สถานีบริการน้ำมัน จำนวน 1 แห่ง (3) โรงแรม จำนวน 12 แห่ง (4) ธนาคาร จำนวน 6 แห่ง (5) สถานพยาบาล จำนวน 1 แห่ง (6) ร้านอาหาร จำนวน 14 แห่ง 2. สรุปผลการดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้กับ 16 กลุ่มเป้าหมาย ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 – มิถุนายน 2566 ได้จำนวน 110 แห่ง (เป้าหมาย 215 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 51.16
1. ดำเนินโครงการ/กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยและการคัดแยกมูลฝอยนำไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิด 2. รายงานผลการดำเนินการคัดแยกมูลฝอย ตามแบบรายงานการคัดแยกมูลฝอย (SWM 1 - 5) ได้ครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด 3. รายงานผลการดำเนินการตามโครงการส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะและโครงการไม่เทรวมตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (แบบ 02 - 05) ได้ครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด 4. ดำเนินการรณรงค์ส่งเสริม องค์กร หน่วยงาน ชุมชนฯ ในพื้นที่ร่วมโครงการส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะที่ต้นทางและโครงการไม่เทรวมในปีงบระมาณ 2566 (เป้าหมาย 196 แห่ง) ผลดำเนินการ 228 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 116.33
1. การดำเนินการลดและคัดแยกขยะ หมายถึง การรณรงค์สร้าง ความร่วมมือในกลุ่มเป้าหมาย โดยการนำแนวคิดการแยกขยะด้วยการส่งเสริมสมาชิก ชุมชน/องค์กร เพื่อให้เกิดกระบวนการลดและคัดแยกขยะเพื่อนำมาหมุนเวียนใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น 2. ประเภทแหล่งกำเนิด แบ่งเป็น 7 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) สถานศึกษา 2) อาคาร 3) ชุมชน 4) งานกิจกรรม/เทศกาล 5) ตลาด 6) ศาสนสถาน และ 7) อื่นๆ
วิธีคำนวณ นับจำนวนองค์กรหรือชุมชนที่ร่วมดำเนินการลดและคัดแยกขยะ ตาม 6 กลุ่มประเภทแหล่งกำเนิด
วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. แบบรายงานผลการดำเนินการ 2. สรุปผลการดำเนินการ
:ยุทธศาสตร์ที่ ๒ –การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
:๒.๑ - คุณภาพสิ่งแวดล้อมยั่งยืน |
:๒.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยตั้ง% |
:๒.๑.๓.๑ การจัดการมูลฝอยต้นทางอย่างมีประสิทธิภาพ |