ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 25
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
ประจำเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน 2564 ได้ดำเนินการตามวิธี/แนวทางภายใต้เกณฑ์ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของพื้นที่ตามโครงการถนนปลอดภัย ปันน้ำใจ เพิ่มความสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครบถ้วนทุกขั้นตอนและสอดคล้องกับนิยามตามองค์ประกอบที่ 3 ระดับความสำเร็จของการจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยบริเวณพื้นผิวถนน และรายงานให้สำนักเทศกิจทราบทุกเดือนภายในกำหนด และได้จัดเตรียมเอกสารส่งสำนักเทศกิจ ประกอบด้วย สำเนาข้อมูลถนนในพื้นที่เขต สำเนาโครงการฯ แผนงานการดำเนินการ สำเนาคำสั่งสำนักงานเขตประเวศที่ 626/2564 เรื่องมอบหมายเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตามโครงการฯประำจำเดือนธันวาคม 2564 ได้จัดส่งรายงานตามแบบรายงานการตรวจข้อร้องเรียนเรื่องความเป็นระเบียบเรียบร้อยของพื้นที่ตามโครงการ ให้สอดคล้องกับแผนบูรณาการโครงการของสำนักเทศกิจ ครบถ้วน ทุกขั้นตอนและส่งภายในกำหนดเวลาที่กำหนด
ประจำเดือนมกราคม 2565 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ ได้ดำเนินการมีรายละเอียดดังนี้คือ 1. จำนวนครั้งของการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม เป้าหมาย 2 ครั้ง/วัน/จุด ผลการดำเนินการโดยเข้าตรวจวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด ทำได้จำนวน 558 ครั้งและจุดเสี่ยงภัยมี 2 ประเภท 1.1 พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 6 จุด 1.2 พื้นที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยของถนน มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยอำนวยความสะดวกด้านการจราจร จำนวน 11 จุด เป้าหมาย เฉลี่ย 2 ครั้ง/วัน/จุด (วันทำการ) ผลการดำเนินการ อยู่ระหว่างโรงเรียนปิดเทอม เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19) 4.2 ออกตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ติดตั้งแล้ว จำนวน 6 เครื่อง ใช้งานได้ 6 เครื่อง อยู่ในสถานะ : ไฟเขียว สีแดง ครบถ้วนทุกตัว ตรวจวันละ 1 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) จำนวนครั้งการตรวจ รวม 186 ครั้ง มีการติดตั้ง 4 จุด และยังไม่มีการติดตั้ง 2 จุด จำนวนกล้องจำนวน 14 ตัว ใช้งานได้ตามปกติ 14 ตัว 4.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์กับอาชญากรรม จำนวน 6 จุด ให้ประชาชนระมัดระวังความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครบทุกจุด 4.4 การดูแลตัดต้นไม้ การพัฒนาและทำความสะอาดพื้นที่ โดยฝ่ายรักษาความสะอาดฯ อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด 4.5 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง โดยฝ่ายโยธา ครบถ้วนทุกจุด อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ ได้ดำเนินการมีรายละเอียดดังนี้คือ 1. จำนวนครั้งของการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม เป้าหมาย 2 ครั้ง/วัน/จุด ผลการดำเนินการโดยเข้าตรวจวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด ทำได้จำนวน 504 ครั้งและจุดเสี่ยงภัยมี 2 ประเภท 1.1 พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 6 จุด 1.2 พื้นที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยของถนน มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยอำนวยความสะดวกด้านการจราจร จำนวน 11 จุด เป้าหมาย เฉลี่ย 2 ครั้ง/วัน/จุด (วันทำการ) ผลการดำเนินการ อยู่ระหว่างโรงเรียนปิดเทอม เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19) 4.2 ออกตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ติดตั้งแล้ว จำนวน 6 เครื่อง ใช้งานได้ 6 เครื่อง อยู่ในสถานะ : ไฟเขียว สีแดง ครบถ้วนทุกตัว ตรวจวันละ 1 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) จำนวนครั้งการตรวจ รวม 168 ครั้ง มีการติดตั้ง 4 จุด และยังไม่มีการติดตั้ง 2 จุด จำนวนกล้องจำนวน 14 ตัว ใช้งานได้ตามปกติ 14 ตัว 4.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์กับอาชญากรรม จำนวน 6 จุด ให้ประชาชนระมัดระวังความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครบทุกจุด 4.4 การดูแลตัดต้นไม้ การพัฒนาและทำความสะอาดพื้นที่ โดยฝ่ายรักษาความสะอาดฯ อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด 4.5 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง โดยฝ่ายโยธา ครบถ้วนทุกจุด อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด ประจำเดือนมีนาคม 2565 ฝ่ายเทศกิจ สำนักงานเขตประเวศ ได้ดำเนินการมีรายละเอียดดังนี้คือ 1. จำนวนครั้งของการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม เป้าหมาย 2 ครั้ง/วัน/จุด ผลการดำเนินการโดยเข้าตรวจวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด ทำได้จำนวน 558 ครั้งและจุดเสี่ยงภัยมี 2 ประเภท 1.1 พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 6 จุด 1.2 พื้นที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยของถนน มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยอำนวยความสะดวกด้านการจราจร จำนวน 11 จุด เป้าหมาย เฉลี่ย 2 ครั้ง/วัน/จุด (วันทำการ) ผลการดำเนินการ จำนวน 80 ครั้ง (จำนวน 4 โรงเรียน เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19) เปิดเฉพาะโรงเรียนระดับมัธยม รวม 20 วันทำการ 4.2 ออกตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ติดตั้งแล้ว จำนวน 6 เครื่อง ใช้งานได้ 6 เครื่อง อยู่ในสถานะ : ไฟเขียว สีแดง ครบถ้วนทุกตัว ตรวจวันละ 1 ครั้ง/วัน/จุด (31 วัน) จำนวนครั้งการตรวจ รวม 186 ครั้ง มีการติดตั้ง 4 จุด และยังไม่มีการติดตั้ง 2 จุด จำนวนกล้องจำนวน 14 ตัว ใช้งานได้ตามปกติ 14 ตัว 4.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์กับอาชญากรรม จำนวน 6 จุด ให้ประชาชนระมัดระวังความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ครบทุกจุด 4.4 การดูแลตัดต้นไม้ การพัฒนาและทำความสะอาดพื้นที่ โดยฝ่ายรักษาความสะอาดฯ อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด 4.5 การติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง โดยฝ่ายโยธา ครบถ้วนทุกจุด อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด
ประจำเดือนมกราคม 2565 ดำเนินการถนน จำนวน 7 สาย รายงานตามเกณฑ์การตรวจ จำนวนครั้งการตรวจ 2 ครั้ง/วัน/ถนน ดำเนินการตามเป้าหมายครบถ้วน ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ดำเนินการถนน จำนวน 7 สาย รายงานตามเกณฑ์การตรวจ จำนวนครั้งการตรวจ 2 ครั้ง/วัน/ถนน ดำเนินการตามเป้าหมายครบถ้วน ประจำเดือนมีนาคม 2565 ดำเนินการถนน จำนวน 7 สาย รายงานตามเกณฑ์การตรวจ จำนวนครั้งการตรวจ 2 ครั้ง/วัน/ถนน ดำเนินการตามเป้าหมายครบถ้วน
นิยาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อยบริเวณพื้นผิวถนน หมายถึง การจัดระเบียบพื้นผิวถนนและทางเท้า กวดขันการตั้ง วาง หรือกองวัตถุใด ๆ บนถนนและทางเท้า การปรับสภาพผิวถนน การดูแลเส้นจราจร ป้ายจราจร(บางจุดสามารถดำเนินการแก้ไขได้ แต่บางจุดไม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้เนื่องจากเกี่ยวข้องกับงบประมาณ เงื่อนไขการดำเนินการ ระยะเวลา ฯลฯ) การร่วมตรวจสอบดูแลรักษาความสะอาดไม่ให้มีการตั้ง วาง หรือกองวัตถุสิ่งของบนถนนและทางเท้า การดำเนินภารกิจกำจัดซากยานยนต์ที่มีผู้นำมาจอดทิ้ง วาง หรือกองไว้บนถนนหรือสถานสาธารณะหรือที่สาธารณะ โดยความร่วมมือของสำนักเทศกิจและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่าง สำนักเทศกิจ สำนักงานเขต สำนักการโยธา สำนักการจราจรและขนส่ง กองบัญชาการตำรวจนครบาล และภาคประชาชน บนถนนสายหลัก สายรอง ทางลัดทางเชื่อม และถนนส่วนบุคคล ซึ่งเจ้าของยินยอมให้ประชาชนใช้เป็นทางสัญจรได้ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยเน้นการบังคับการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 และระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแบ่งค่าปรับที่ได้จากการเปรียบเทียบให้แก่ผู้แจ้งความนำจับตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2560 ระดับความสำเร็จ หมายถึง เรื่องที่ประชาชนแจ้ง / ร้องเรียนผ่านช่องทางร้องเรียนของสำนักงานเขตได้รับการตรวจสอบ หากพบการกระทำผิดจะดำเนินการว่ากล่าวตักเตือนและให้เคลื่อนย้ายวัตถุดังกล่าวออกให้เรียบร้อย
วิธีคำนวณ ผลการดำเนินงานที่ทำได้เทียบกับเกณฑ์ร้อยละความสำเร็จ
วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน เก็บข้อมูลจากแผน/รายงานการดำเนินงานแต่ละขั้นตอน 1. แผน/Roadmap/แนวทางการปฏิบัติในเชิงบูรณาการระหว่างสำนักเทศกิจและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. หลักเกณฑ์ วิธีการ/มาตรการดำเนินการ 3. รายงานการประชุม 4. รายงานการออกตรวจพื้นที่ 5. เอกสารรายงานต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น 6. แหล่งข้อมูลแสดงการเผยแพร่การดำเนินโครงการ ๗. รายงานผลการประเมินผลการจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง กรณีการจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยบริเวณพื้นผิวถนน
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม |
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า% |
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต |