ค่าเป้าหมาย : 0
ผลงานที่ทำได้ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
-สำรวจุดเสี่ยง จุดเฝ้าระวัง - เตรียมวัสดุอุปกรณ์
- เตรียมความพร้อมวัสดุอุปกรณ์ - ติดตั้งเครื่องสูบน้ำ - ทำความสะอาดท่อระบายน้ำ - ทำความสะอาดคู คลอง เปิดทางน้ำไหล
- เตรียมความพร้อมวัสดุอุปกรณ์ - ติดตั้งเครื่องสูบน้ำ - ทำความสะอาดท่อระบายน้ำ - ทำความสะอาดคู คลอง เปิดทางน้ำไหล
- เตรียมความพร้อมวัสดุอุปกรณ์ - ติดตั้งเครื่องสูบน้ำ - ทำความสะอาดท่อระบายน้ำ - ทำความสะอาดคู คลอง เปิดทางน้ำไหล แล้วเสร็จตามกำหนดเวลา
การเตรียมการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร หมายถึง การเตรียมการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเนื่องจากน้ำฝนและน้ำหลาก เข้าในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้สามารถลดระยะเวลาการระบายน้ำท่วมขัง ได้เร็วขึ้น ลดผลกระทบที่จะเกิดแก่ประชาชนให้น้อยลง คลอง หมายถึง คลองในความรับผิดชอบของสำนักงานเขตรวมไปถึงคู ลำราง และลำกระโดง ท่อระบายน้ำ หมายถึง ท่อระบายน้ำในความรับผิดชอบของสำนักงานเขต
ความสำเร็จแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหา น้ำท่วมในพื้นที่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 ประกอบด้วย การเตรียมการตามแผนฯ ดังนี้ 1. ภารกิจการทำความสะอาด/ลอกท่อระบายน้ำ บูรณะซ่อมแซม ฝาบ่อพัก ฝาท่อระบายน้ำตะแกรงรับน้ำและคันหิน 1.1 แผนงานทำความสะอาด/ลอกท่อระบายน้ำฯ โดยใช้แรงงานเขต 1.2 แผนงานทำความสะอาด/ลอกท่อระบายน้ำฯ โดยการจ้างเหมา หน่วยงานอื่นตามที่ได้รับจัดสรรประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. ภารกิจการขุดลอกคู คลองและเปิดทางน้ำไหล 2.1 แผนงานการขุดลอกคู คลองฯ โดยใช้แรงงานเขต 2.2 แผนงานการขุดลอกคู คลองฯ โดยการจ้างเหมาหน่วยงานอื่นตามที่ได้รับจัดสรรประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ไม่ทิ้งของเสียลงในท่อระบายน้ำและคลองในพื้นที่ 2 ครั้ง นับจากผลรวมของคะแนนจากการดำเนินงานตามภารกิจ/กิจกรรม โดยแบ่งเป็น 1. ภารกิจทำความสะอาด/ลอกท่อฯ 45 คะแนน 2. ภารกิจขุดลอกคู คลองฯ 45 คะแนน 3. กิจกรรมรณรงค์ 10 คะแนน รวม 100 คะแนน
1. ผลการดำเนินงานตามแผน 2. เอกสารการรายงานผลการดำเนินงาน 3. ภาพถ่าย/ หลักฐานอื่น ๆ
:ยุทธศาสตร์ที่ ๑ –การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ |
:๑.๓ - ปลอดภัยพิบัติ |
:๑.๓.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ% |
:๑.๓.๑.๑ การสร้างศักยภาพและความสามารถในการจัดการสาธารณภัยและลดความเสี่ยงอุทกภัย |