รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

จำนวนชนิดพันธุ์พืชที่ได้รับการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) : 5036-6504

ค่าเป้าหมาย ชนิด/ปี : 100

ผลงานที่ทำได้ ชนิด/ปี : 226

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ชนิด/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
107.00
0
0 / 0
3
176.00
0
0 / 0
4
226.00
100
95 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) ชนิดพันธุ์พืชต่าง ๆ ในพื้นที่เขตจอมทองระหว่างเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563 จำนวนทั้งสิ้น 25 ชนิด อาทิเช่น ละมุดด่าง, กล้วยมาฮอย, หญ้าเหรียญบาท, สะลอดน้ำ, หวายลิง, ยางอินเดียด่าง, หม่อนพันธุ์ดำออสตุรกี เป็นต้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) ชนิดพันธุ์พืชต่าง ๆ ในพื้นที่เขตจอมทองระหว่างเดือนมกราคม - มีนาคม 2564 จำนวนทั้งสิ้น 107 ชนิด อาทิเช่น พุทธรักษาด่าง, อ้อยสุพรรณ 50, กล้วยมาฮอย, ส้มบางมด, ลิ้นจี่บางขุนเทียน เป็นต้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) ชนิดพันธุ์พืชต่าง ๆ ในพื้นที่เขตจอมทองระหว่างเดือนเมษายน - มิถุนายน 2564 จำนวนทั้งสิ้น 44 ชนิด อาทิเช่น มะยมสีทอง มะหวด ลิ้นมังกรด่างสำริด เศรษฐีวิลสัน พริดเจ็ดสี (พริกสีรุ้ง) มะนาวแป้นพิจิตร ชำมะเลียงขาว เป็นต้น รวม 9 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - มิถุนายน 2564 ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) ชนิดพันธุ์พืชต่าง ๆ ในพื้นที่เขตจอมทอง ไปแล้วทั้งสิ้น 176 ชนิด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) ชนิดพันธุ์พืชต่าง ๆ ในพื้นที่เขตจอมทองระหว่างเดือนกรกฏาคม - กันยายน 2564 จำนวนทั้งสิ้น 50 ชนิด อาทิเช่น ตะลิงปลิง พวงแก้วแดง ราชาวดี ทองพันชั่ง ดาหลา ฟ้าประทานพรสีขาว เป็นต้น รวม 12 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) ชนิดพันธุ์พืชต่าง ๆ ในพื้นที่เขตจอมทอง จำนวนทั้งสิ้น 226 ชนิด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. ชนิดพันธุ์พืช หมายถึง พืชที่มีอยู่ในพื้นที่เขตจอมทอง เช่น ส้มบางมด ลิ้นจี่บางขุนเทียน ตะเคียน ลำพู เป็นต้น 2. พิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) หมายถึง ตำแหน่งบนพื้นผิวโลกที่สามารถระบุตำแหน่งที่ตั้งของพืชนั้นๆ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

นับจำนวนชนิดพันธุ์พืชที่ได้รับการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS)

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ชนิดพันธุ์พืชในพื้นที่เขตจอมทอง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
:๒.๒.๑.๒ อนุรักษ์ ฟื้นฟูและรักษาพื้นที่สีเขียวเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง