รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมอาชีพ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ/สร้างรายได้เสริมหรือนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน : 5036-6524

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 50

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 60

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00
100
100 / 100
2
30.00
100
100 / 100
3
40.00

0 / 0
4
60.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดฝึกอบรมวิชาชีพ จำนวน 4 หลักสูตร ให้กับประชาชนในชุมชนและประชาชนทั่วไป ในวันเสาร์และวันอาทิตย์ จำนวน 16 วัน ระหว่างวันที่ 25 ธันวาคม 2564 - 13 กุมภาพันธ์ 2565 ดังนี้ 1. หลักสูตรการทำพวงหรีดจากผ้าขนหนู/ผ้าห่ม/ผ้าขาวม้า 2. หลักสูตรการผูกผ้าในงานพิธีต่าง ๆ 3. หลักสูตรการห่อของขวัญและการทำโบว์แบบต่าง ๆ 4. หลักสูตรการเพ้นท์เล็บ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดฝึกอบรมอาชีพแล้วเสร็จ จำนวน 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรการทำพวงหรีดจากผ้าขนหนู/ผ้าห่ม/ผ้าขาวม้า และหลักสูตรการห่อของขวัญและการทำโบว์แบบต่าง ๆ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการจัดฝึกอบรมอาชีพแล้วเสร็จ จำนวน 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรการทำพวงหรีดจากผ้าขนหนู/ผ้าห่ม/ผ้าขาวม้า และหลักสูตรการห่อของขวัญและการทำโบว์แบบต่าง ๆ ขณะนี้อยู่ระหว่างประสานวิทยากรจัดอบรมหลักสูตรการผูกผ้าในงานพิธีต่าง ๆ และหลักสูตรการเพ้นท์เล็บ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดฝึกอบรมวิชาชีพแล้วเสร็จ จำนวน 4 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรการทำพวงหรีดจากผ้าขนหนู/ผ้าห่ม/ผ้าขาวม้า 2. หลักสูตรการผูกผ้าในงานพิธีต่าง ๆ 3. หลักสูตรการห่อของขวัญและการทำโบว์แบบต่าง ๆ 4. หลักสูตรการเพ้นท์เล็บ ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ ได้ติดตามประเมินผลผู้เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมวิชาชีพ ปรากฎว่า ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้เสริม และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน คิดเป็นร้อยละ 60

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. ผู้เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมวิชาชีพ หมายถึง ประชาชนทั่วไปในพื้นที่เขตจอมทองที่สมัครและเข้ารับการอบรมวิชาชีพเสริมรายได้กับสำนักงานเขตจอมทอง และผ่านการอบรมตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. การนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ/สร้างรายได้เสริม หรือนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ติดตามผลโดยการทอดแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้ผ่านการอบรมวิชาชีพหลังจบการฝึกอบรม

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมอาชีพที่สามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ/สร้างรายได้เสริมหรือนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน คูณ 100 หารด้วยจำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมอาชีพทั้งหมด ระหว่าง 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

เก็บข้อมูลโดยการทอดแบบประเมินผลภายหลังเสร็จสิ้นการจัดกิจกรรมฝึกอบรมวิชาชีพ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจ
:๓.๒.๒ คนกรุงเทพฯมีโอกาสได้รับการฝึกอาชีพตามความถนัด%
:๓.๒.๒.๑ พัฒนาโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ศูนย์ฝึกอาชีพ และการจัดฝึกอาชีพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง