รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพมาลงทะเบียนรับการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพ : 5036-6526

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 99.15

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
99.15
100
100 / 100
2
99.15
100
100 / 100
3
99.15

0 / 0
4
99.15
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ในพื้นที่เขตจอมทองมีผู้สูงอายุที่มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพ ในปี 2565 จำนวน 2,124 ราย โดยมีผู้สูงอายุมาลงทะเบียนเพื่อขอรับเบี้ยยังชีพ จำนวนทั้งสิ้น 2,106 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 99.15 ราย (เนื่องจากมีผู้สูงอายุที่ย้ายทะเบียนบ้านไปอยู่ที่อื่น)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ในพื้นที่เขตจอมทองมีผู้สูงอายุที่มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพ ในปี 2565 จำนวน 2,124 ราย โดยมีผู้สูงอายุมาลงทะเบียนเพื่อขอรับเบี้ยยังชีพ จำนวนทั้งสิ้น 2,106 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 99.15 ราย (เนื่องจากมีผู้สูงอายุที่ย้ายทะเบียนบ้านไปอยู่ที่อื่น)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ในพื้นที่เขตจอมทองมีผู้สูงอายุที่มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพ ในปี 2565 จำนวน 2,124 ราย โดยมีผู้สูงอายุมาลงทะเบียนเพื่อขอรับเบี้ยยังชีพ จำนวนทั้งสิ้น 2,106 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 99.15 ราย (เนื่องจากมีผู้สูงอายุที่ย้ายทะเบียนบ้านไปอยู่ที่อื่น)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ในพื้นที่เขตจอมทองมีผู้สูงอายุที่มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพ ในปี 2565 จำนวน 2,124 ราย โดยมีผู้สูงอายุมาลงทะเบียนเพื่อขอรับเบี้ยยังชีพ จำนวนทั้งสิ้น 2,106 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 99.15 ราย (เนื่องจากมีผู้สูงอายุที่ย้ายทะเบียนบ้านไปอยู่ที่อื่น)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ผู้สูงอายุที่มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพประจำปี 2565 หมายถึง ผู้สูงอายุที่เกิดก่อน 2 กันยายน พ.ศ. 2505

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้มาลงทะเบียนรับการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพประจำปี 2565 คูณ 100 หารด้วยจำนวนผู้มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพประจำปี 2565

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

จากสถิติผู้มาลงทะเบียนรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุประจำปี 2565

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี%
:๓.๑.๒.๑ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง