รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายของ ชุมชนจำนวน 48 ชุมชน อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด : 5036-6546

ค่าเป้าหมาย : 0

ผลงานที่ทำได้ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
()
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00
100
100 / 100
2
60.00

0 / 0
3
90.00
75
75 / 100
4
100.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.ดำเนินกิจกรรมที่ 1 ค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ประจำเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม 2565 เรียบร้อยแล้ว จำนวน 18 ครั้ง 2.ดำเนินการกิจกรรมที่ 2 ค่าอาหารทำการนอกเวลาราชการ ประจำเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม 2565 เรียบร้อยแล้ว จำนวน 2 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.ดำเนินกิจกรรมที่ 1 ค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เดือนมกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2566 จำนวน 21 ครั้ง และวันที่ 1-23 มีนาคม 2566 จำนวน 7 ครั้ง 2.ดำเนินการกิจกรรมที่ 2 ค่าอาหารทำการนอกเวลาราชการ เดือนมกราคม ถึงวันที่ 23 มีนาคม 2566 รวมจำนวน 6 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.ดำเนินกิจกรรมที่ 1 ค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ตั้งแต่ 24 มีนาคม ถึงสิ้นเดือนมิถุนายน 2566 จำนวน 26 ครั้ง 2.ดำเนินการกิจกรรมที่ 2 ค่าอาหารทำการนอกเวลาราชการ วันที่ 24 มีนาคม ถึงสิ้นเดือนมิถุนายน 2566 รวมจำนวน 6 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สรุปการดำเนินกิจกรรมของโครงการ 1.ดำเนินกิจกรรมที่ 1 ค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ครบ 72 ครั้ง 2.ดำเนินการกิจกรรมที่ 2 ค่าอาหารทำการนอกเวลาราชการ ครบ 24 ครั้ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ร้อยละของรายงาน ผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายของชุมชนที่อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด HI (House Index) หมายถึง คาดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในหลังคาเรือน (รอยละของการพบลูกน้ำยุงลายในบานที่ทําการสํารวจในพื้นที่) กำหนดให้ค่า HI ไม่เกิน 10

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ จำนวนชุมชนที่อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดX 100 / จำนวนชุมชนที่กำหนด เครื่องมือในการใช้วัดแบบประเมินดัชนีลูกน้ำยุงลาย

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง%
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง