รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ (องค์ประกอบที่ 2) : 5037-0941

ค่าเป้าหมาย ไม่น้อยกว่า 20 แนวคลอง (ระดับ 5) : 100

ผลงานที่ทำได้ ไม่น้อยกว่า 20 แนวคลอง (ระดับ 5) : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่น้อยกว่า 20 แนวคลอง (ระดับ 5))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
40.00
100
100 / 100
3
55.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. สำรวจพื้นที่ร่วมกับสำนักการระบายน้ำ 2. จัดทำแผน 3. จัดทำโครงการ/ขออนุมัติโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ฝ่ายโยธาเก็บขยะในคลองและทางเดิน ริมคลอง ฝ่ายเทศกิจตรวจตราตลอดแนวคลอง ดูแล ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ป้องกันการเกิดพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ฝ่ายโยธาเก็บขยะในคลองและทางเดิน ริมคลอง ฝ่ายเทศกิจตรวจตราตลอดแนวคลอง ดูแล ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ป้องกันการเกิดพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- สร้างจุดชมวิวทิวทัศน์/จุดเช็คอิน และติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวก/ป้ายประดับตกแต่งต่างๆ - ประชาสัมพันธ์การดูแลรักษาแม่น้ำลำคลอง และขอความร่วมมือให้ประชาชนในชุมชนช่วยกันรักษาคูคลอง - ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ และแจกเอกสาร เรื่องการคัดแยกขยะ และถังหรือบ่อดักไขมันบ้านเรือน - ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ประชาชนต้้งวางสิ่งของหรือก่อสร้างและรุกล้ำกีดขวางทางเดินคลอง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม การปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง หมายถึง การปรับปรุงภูมิทัศน์ตลอดแนวคลองให้มีความสวยงาม สะอาด และปลอดภัยสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมอัตลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ วิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน ทั้งภูมิทัศน์ที่เป็นแหล่งธรรมชาติ และสถานที่ที่ถูกสร้างขึ้น อัตลักษณ์ หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่โดดเด่น ซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นสิ่งที่รู้จักหรือจำได้ คลอง หมายถึง คลองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นคลองเป้าหมายที่กำหนด ตามเอกสารแนบ 1

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ นับจากผลรวมของความสำเร็จการดำเนินงานตามภารกิจเฉพาะหน่วยงาน และความสำเร็จของการดำเนินงานในภาพรวม เกณฑ์การให้คะแนน การวัดผลการดำเนินงานแบ่งเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย 1. ความสำเร็จตามภารกิจเฉพาะหน่วยงาน ร้อยละ 60 และ 2. ความสำเร็จในภาพรวม ร้อยละ 40

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. เอกสารประกอบการดำเนินการ 2. ระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA digitalplans) หลักฐาน 1. แผนการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม 3. ภาพถ่ายกิจกรรมก่อน - หลัง ดำเนินการ ฯลฯ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง