รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความเชื่อมั่นปลอดภัยจากอาชญากรรมในการดำเนินชีวิตในกรุงเทพมหานครโดยเฉลี่ยของประชาชน : 5037-2011

ค่าเป้าหมาย ร้อยละความสำเร็จของการจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยบ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละความสำเร็จของการจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยบ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละความสำเร็จของการจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยบ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
75.00
100
100 / 100
4
100.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-มอบหมายให้เจ้าหน้าที่เทศกิจเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยและตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด(CCTV) จำนวน 9 จุด จุดละ 3 ครั้งต่อวัน -ประสานการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย - สรุปผลการดำเนินการรายงานให้สำนักเทศกิจทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-มอบหมายให้เจ้าหน้าที่เทศกิจเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยและตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด(CCTV) จำนวน 9 จุด จุดละ 3 ครั้งต่อวัน -ประสานการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย - สรุปผลการดำเนินการรายงานให้สำนักเทศกิจทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-มอบหมายให้เจ้าหน้าที่เทศกิจเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยและตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด(CCTV) จำนวน 9 จุดจุดละ 3 ครั้งต่อวัน -ประสานการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย - สรุปผลการดำเนินการรายงานให้สำนักเทศกิจทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-มอบหมายให้เจ้าหน้าที่เทศกิจเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยและตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด(CCTV) จำนวน 9 จุดจุดละ 3 ครั้งต่อวัน -ประสานการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย - สรุปผลการดำเนินการรายงานให้สำนักเทศกิจทราบ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นผิวถนน หมายถึง ทางเดินรถ ทางเท้า ขอบทาง ไหล่ทาง ช่องเดินรถ ช่องเดินรถประจำทาง และลานที่ประชาชนใช้ในการจราจร และให้หมายความรวมถึงทางส่วนบุคคลที่เจ้าของยินยอมให้ประชาชนใช้ในการจราจรหรือที่หัวหน้าเจ้าพนักงานจราจรได้ประกาศไว้ ตาม พ.ร.บ. รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 และ พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522 ความเป็นระเบียบเรียบร้อย หมายถึง สภาพพื้นที่ บริเวณพื้นผิวถนน ทางเท้า มีความสะอาด ไม่พบการตั้งวาง สิ่งของ หรือสิ่งอื่นใด ในลักษณะกีดขวางการจราจรที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อน รำคาญ แก่ผู้อื่นและมีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชน การจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อย หมายถึง การกวดขันการตั้ง วาง หรือกองวัตถุใด ๆ บนพื้นผิวถนน ทางเท้า การตรวจสอบดูแลรักษาความสะอาด ไม่ให้มีการตั้ง วาง หรือกองวัตถุสิ่งของบนพื้นผิวถนน ทางเท้า หาบเร่-แผงลอย (นอกพื้นที่ทำการค้า) และซากยานยนต์ที่มีผู้นำมาจอดทิ้งบนพื้นผิวถนน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยเน้นการบังคับการ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 และระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแบ่งค่าปรับที่ได้จากการเปรียบเทียบให้แก่ผู้แจ้งความนำจับตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2560 และประสานงานสถานีตำรวจท้องที่ดำเนินการตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 ระดับความสำเร็จ หมายถึง การดำเนินการแก้ไขปัญหาตามภารกิจที่รับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ที่กฎหมายกำหนดได้แล้วเสร็จสำนักงานเขต 1. สำรวจและจัดทำข้อมูลพื้นที่เขตส่งสำนักเทศกิจ เพื่อประกอบในการจัดทำแผน การจัดระเบียบบริเวณพื้นผิวถนนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๒. จัดทำแผนปฏิบัติงานของสำนักงานเขตตามแผนงาน / แนวทางการปฏิบัติงาน หลักเกณฑ์ วิธีการ/มาตรการดำเนินการ ฯลฯ ๓. ปฏิบัติงาน/ดำเนินการตามแผนฯ เช่น การจัดประชุมชี้แจง การสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชนผ่านประกาศของสำนักงานเขต หรือการประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมรณรงค์ เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินการตามแผนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนด ๔. ดำเนินการตรวจสอบ ตักเตือน กวดขัน และบังคับใช้กฎหมายไม่ให้ประชาชนฝ่าฝืนนำยานยนต์มาจอดกีดขวางการจราจร นำสิ่งของมาตั้ง วาง กองบนถนนในลักษณะ กีดขวางการจราจร เบียดบังทางสาธารณะหรือถนนสาธารณะเพื่อประโยชน์ส่วนตัว และบดบังทัศนียภาพของเมือง ๕. จัดทำรายงานผลการตรวจพื้นที่ และการจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อย บริเวณ พื้นผิวถนนฯ ของสำนักงานเขตในเชิงปริมาณ ส่งสำนักเทศกิจเป็นรายเดือน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ผลการดำเนินงานที่ทำได้เทียบกับเกณฑ์ร้อยละความสำเร็จ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. ข้อมูลพื้นที่เขตเพื่อประกอบในการจัดทำแผนการจัดระเบียบบริเวณพื้นผิวถนน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ส่งสำนักเทศกิจ 2. แผน/Roadmap/แนวทางการปฏิบัติของสำนักงานเขต 3. หลักเกณฑ์ วิธีการ/มาตรการดำเนินการ 4. รายงานการประชุม 5. รายงานการออกตรวจพื้นที่ 6. เอกสารรายงานต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น 7. เอกสารการแจ้งร้องเรียนจากประชาชนที่ดำเนินการแล้วเสร็จ 8. แหล่งข้อมูลแสดงการเผยแพร่การดำเนินโครงการ เช่น การประชาสัมพันธ์ 9. รายงานผลการประเมินผลการจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมืองบริเวณพื้นผิวถนน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง