รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร : 5037-2014

ค่าเป้าหมาย ร้อยละตามการดำเนินการตามเป้าหมาย : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละตามการดำเนินการตามเป้าหมาย : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละตามการดำเนินการตามเป้าหมาย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00
100
100 / 100
2
60.00

0 / 0
3
85.00
100
100 / 100
4
100.00
100
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ตรวจสุขาภิบาลอาหาร - มินิมาร์ท จำนวน 8 แห่ง -ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 4 แห่ง - สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 66 แห่ง - สถานศึกษา จำนวน 11 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.ตรวจสุขาภิบาลอาหาร - มินิมาร์ท จำนวน 12 แห่ง -ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 8 แห่ง - สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 103 แห่ง - สถานศึกษา จำนวน 10 แห่ง 2.กิจกรรมพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.ตรวจสุขาภิบาลอาหาร - มินิมาร์ท จำนวน 15 แห่ง -ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 12 แห่ง - สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 63 แห่ง - สถานศึกษา จำนวน 12 แห่ง 2.กิจกรรมเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา 3.อบรมสุขาภิบาลอาหาร "สำหรับผู้ประกอบกิจการ" Online จำนวน 1 รุ่น 4.อบรมสุขาภิบาลอาหาร "สำหรับผู้สัมผัสอาหาร" Online จำนวน 1 รุ่น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1.ตรวจสุขาภิบาลอาหาร - มินิมาร์ท จำนวน 45 แห่ง -ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 16 แห่ง - สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 42 แห่ง - ตลาด จำนวน 2 แห่ง - สถานศึกษา จำนวน 8 แห่ง 2.กิจกรรมอาสาสมัครอาหารปลอดภัยในสถานศึกษา 3.กิจกรรมการประชุมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย 4.รวบรวมผลการดำเนินงาน 5.สรุปผลการดำเนินงาน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง ร้านอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่สำนักงานเขตดินแดง 2. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย หมายถึง เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 2.1 ด้านสุขขลักษณะทางกายภาพ อาคารสถานที่ (Place) ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความสะอาดและสุขลักษณะพของสถานที่ตามประเภทของสถานประกอบการอาหารนั้น 2.2 ด้านคุณภาพอาหาร (Food) ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัยของอาหารของกรุงเทพมหานคร 2.3 ด้านบุคคลากร ผู้ประกอบกิจการ และผู้สัมผัสอาหาร (Food Handler) ได้รับการส่งเสริความรู้ด้านสุขภิบาลอาหาร ตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดคูณด้วย 100 2. จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดคูณด้วย 100 3. จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service) หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดคูณด้วย 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1.โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารรปลอดภัย พ.ศ.2566 2. ข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง