รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ : 5038-6507

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 4

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00
100
100 / 100
2
3.00
100
100 / 100
3
4.00
100
100 / 100
4
0.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำแผนและพัฒนาพื้นที่ตลอดแนวคลองตามความรับผิดชอบของเขต จำนวน 4 คลอง คือ คลองแสนแสบ คลองพระโขนง คลองตัน และคลองเคล็ด 2. รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น การเดินรณรงค์ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่องการคัดแยกขยะการจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันสำหรับบ้านเรือน 3. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่ ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง 4. สำรวจและประสานการไฟฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน 5. สำรวจ ตรวจสอบและซ่อมแซมสะพานข้ามคลองในความรับผิดชอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น 6. พัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุด Check-in ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือนและป้ายประดับต่าง ๆ ให้มีความสวยงามและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ อย่างน้อยเขตละ 1 จุดต่อคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- คลองแสนแสบ (90 %) ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ 1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกรักแม่น้ำคูคลอง ไม่ทิ้งขยะลงน้ำ 2. ให้ความรู้ด้านการจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันแก่สถานประกอบการในพื้นที่ 3. พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ตลอดแนวริมฝั่งคลอง และซ่อมแซมทางเดินเลียบคลอง 4. ติดตั้งโคมไปถนนโซล่าเซลล์ จำนวน 8 ดวง เพื่อเสริมสร้าวความปลอดภัย 5. สร้างจุด CHECK-IN - คลองพระโขนง 40% ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ 1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกรักแม่น้ำคูคลอง ไม่ทิ้งขยะลงน้ำ 2. ให้ความรู้ด้านการจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันแก่สถานประกอบการในพื้นที่ 3. สำรวจตรวจสอบและซ่อมแซมสะพาน ปรับปรุงภูมิทัศน์ ทาสี - คลองเคล็ด 40% ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ 1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกรักแม่น้ำคูคลอง ไม่ทิ้งขยะลงน้ำ 2. สำรวจตรวจสอบเพื่อซ่อมแซมสะพาน ปรับปรุงภูมิทัศน์ ทาสี - คลองตัน 50% ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ 1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกรักแม่น้ำคูคลอง ไม่ทิ้งขยะลงน้ำ 2. ให้ความรู้ด้านการจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันแก่สถานประกอบการในพื้นที่ 3. พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ทำความสะอาดทางเดินเลียบคลอง 4. สร้างจุด CHECK-IN ความสำเร็จ ร้อยละ 52.50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ดำเนินการตัดแต่งกิ่งไม้ ทำความสะอาดทางเท้าริมคลอง ตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะ 2. ทำความสะอาดเก็บขยะในคลองและริมคลอง 3. ทำจุด Check in คลองแสนแสบดำเนินการแล้วเสร็จ 100% 4. ทำจุด Check in คลองตัน 5. ทาสีสะพานข้ามคลองพระโขนง 6. ตัดแต่งกิ่งไม้ในคลองตัน 7.. ตัดแต่งกิ่งไม้และทำความสะอาดคลองเคล็ดเดือนละ 2 ครั้ง 8. คลองแสนแสบดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ความสำเร็จ ร้อยละ 74.00

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง หมายถึง การปรับปรุงภูมิทัศน์ตลอดแนวคลองให้มีความสวยงาม สะอาด และปลอดภัยสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมอัตลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ วิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน ทั้งภูมิทัศน์ที่เป็นแหล่งธรรมชาติ และสถานที่ที่ถูกสร้างขึ้น อัตลักษณ์ หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่โดดเด่น ซึ่งทำให้สิ่งนั้นเป็นสิ่งที่รู้จักหรือจำได้ คลอง หมายถึง คลองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นคลองเป้าหมายที่กำหนด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

นับจากผลรวมของความสำเร็จการดำเนินงานตามภารกิจเฉพาะหน่วยงาน และความสำเร็จของการดำเนินงานในภาพรวม

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. เอกสารประกอบการดำเนินการ 2. ระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA digital plans) หลักฐาน 1. แผนการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม 3. ภาพถ่ายกิจกรรมก่อน - หลัง ดำเนินการ ฯลฯ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง