ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:
- เดือนตุลาคม 2564 : จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยในพื้นที่ จำนวน 5 จุด โดยตรวจวันละ 3 คร้ัง/จุด/วัน ท้ังกลางวันและกลางคืนเป็นประจำทุกวัน เป็นการป้องปรามและลดโอกาสการเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน และเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อหน่วยงาน เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน - เดือนพฤศจิกายน 2564 : จัดสายตรวจเทศกิจออกตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยในพื้นที่ จำนวน 5 จุด วันละ 6 ครั้ง/จุด/วัน ท้ังกลางวันและกลางคืนเป็นประจำทุกวัน เพื่อป้องปรามและลดโอกาสเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน และสร้างความมั่นใจในการใช้ชีวิตประจำวันของประชาชน ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อหน่วยงาน ตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่าง และกล้อง CCTV ว่าใช้การได้ตามปกติหรือไม่ - เดือนธันวาคม : จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจเทศกิจออกตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยในพื้นที่ จำนวน 5 จุด ทั้งกลางวันและกลางคืนเป็นประจำทุกวัน วันละ 3 คร้ัง/จุด/วัน และตรวจกล้องวงจรปิด CCTV และไฟฟ้าส่องสว่าง ว่าสามารถใช้งานได้ตามปกติหรือไม่ เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เป็นการป้องปรามและลดโอกาสการเกิดเหตุไม่ปลอดภัยแก่ประชาชนในพื้นที่ เฝ้าระวังและดูแลรักษาความปลอดภัยประชาชน
- เดือนมกราคม 2565 จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่ จำนวน 5 จุด โดยออกตรวจท้ังกลางวันและกลางคืน วันละ 3 คร้ัง/จุด/วัน เป็นประจำทุกวัน เพื่อเป็นการป้องปรามและลดโอกาสการเกิดเหตุควาไม่ปลอดภัยแก่ประชาชนในพื้นที่เขต และสร้างความเชื่อมั่นต่อการดำเนินชีวิต และตรวจไฟฟ้าส่องสว่าง กล้องวงจรปิด (CCTV) ว่ายังสามารถใช้การได้ปกติอยู่หรือไม่ - เดือนกุมภาพันธ์ 2565 จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจเทศกิจออกตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยในพื้นที่เขต จำนวน 5 จุด ท้ังกลางวันและกลางคืน วันละ 3 ครั้ง/จุด/วัน เป็นประจำทุกวัน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตให้แก่ประชาชน และตรวจไฟฟ้าส่องสว่าง กล้องวงจรปิด (CCTV) ว่ายังสามารถใช้งานได้ตามปกติหรือไม่ - เดือนมีนาคม 2565 จัดสายตรวจเทศกิจออกตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยในพื้นที่เขต จำนวน 5 จุด ท้ังกลางวันและกลางคืน วันละ 3 คร้ัง/จุด/วัน เป็นประจำทุ่กวัน เพื่อป้องปรามและลดโอกาสเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน สร้างความเชื่อมั่นต่อความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตและเป็นภาพลักษณ์ที่ดีต่อหน่วยงาน ตรวจไฟฟ้าส่องสว่าง และกล้องวงจรปิด (CCTV) ว่าสามารถใช้การได้ตามปกติหรือไม่
- เดือนเมษายน 2565 จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจเทศกิจออกตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยท้ังในเวลากลางวันและกลางคืนเป็นประจำทุกวัน โดยออกตรวจวันละ 3 คร้ัง/จุด/วัน เพื่อป้องปรามและลดโอกาสการเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยแก่ประชาชนในพื้นที่ สร้างความเชื่อมั่นต่อความปลอดภัยในการดำเนินชีวิต ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อหน่วยงาน ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) และไฟฟ้าส่องสว่างว่ายังสามารถใช้การได้ตามปกติหรือไม่ - เดือนพฤษภาคม 2565 จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 5 จุด โดยออกตรวจวันละ 3 คร้ัง/จุด/วัน ท้ังกลางวันและกลางคืน เป็นประจำทุกวัน เพื่อเป็นการป้องปรามและลดโอภาสการเกิเหตุไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตให้แก่ประชาชน ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อหน่วยงาน ตรวจไฟฟ้าส่องสว่าง และกล้องวงจรปิด (CCTV) ว่ายังสามารถใช้การได้ตามปกติหรือไม่ - เดือนมิถุนายน 2565: จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่เขต จำนวน 5 จุด โดยออกตรวจวันละ 3 คร้ัง/จุด/วัน ท้ังกลางวันและกลางคืน เป็นประจำทุกวัน เพื่อป้องปรามและลดโอกาสการเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน และสร้างความเชื่อมั่นต่อความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตของประชาขน และตรวจไฟฟ้าส่องสว่างและกล้องวงจรปิด (CCTV) ว่าสามารถใช้งานได้ตามปกติหรือไม่
กรกฎาคม 2565 : จัดเจ้าหน้าที่ชุดสายตรวจออกตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยในพื้นที่เขต จำนวน 5 จุด โดยออกตรวจวันละ 3 คร้ัง/จุด/วัน ท้ังกลางวันและกลางคืนเป็นประจำทุกวัน เพื่อป้องปรามและลดโอกาสการเกิดเหตุความไม่ปลอดภัย และสร้างความเชื่อมั่นต่อความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตให้แก่ประชาชน และตรวจไฟฟ้าส่องสว่างและกล้องวงจรปิด CCTV ว่าสามารถใช้การได้ตามปกติหรือไม่ สิงหาคม 2565 : จัดสายตรวจเทศกิจออกตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยในพื้นที่เขต จำนวน 5 จุด ท้ังกลางวันและกลางคืน โดยออกตรวจวันละ 3 คร้ัง/จุด/วัน เป็นประจำทุกวัน เพื่อป้องปรามและลดโอกาสการเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน สร้างความเชื่อมั่นในการดำเนินชีวิตให้แก่ประชาชน และตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่าง และกล้องวงจรปิด CCTV ว่าสามารถใช้งานได้ตามปกติหรือไม่ กันยายน 2565 : ดำเนินการแล้วเสร็จตามโครงการ
1. พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรม กับประชาชน โดยพื้นที่เสี่ยงภัยที่เป็นเป้าหมายในการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 นั้น ได้นำรายละเอียดพื้นที่เสี่ยงภัยและวิธีการแก้ไขหรือลดปัจจัยเสี่ยงภัยมาจากบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2564 ซึ่งเกิดจากการสำรวจและรวบรวมข้อมูลของคณะทำงานโครงการสำรวจและจัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2564
ร้อยละ 100 ของการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยในพื้นที่เขตสวนหลวง (จุดเสี่ยงภัย จำนวน 9 จุด)
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |